Page 49 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 49

2-35






                  แปรรูป สำหรับการเก็บรักษาผลผลิตลำไยเพื่อตองการรักษาใหผลิตยังคงรูปรางและคุณภาพที่ดีกอน

                  ออกจำหนายสูตลาด ใหเก็บไวในสภาวะที่อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส สามารถเก็บรักษาไวไดนาน 12
                                                                                                    ่
                                                                                                     ุ
                                                                                                    ี
                  วัน แตถาหากเก็บรักษาไวที่อุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียส เปลือกลำไยจะสีเขม และไมควรเก็บรักษาไวทอณ
                  ภูมิสูงเพราะอาจจะทำใหผลผลิตเสียหายได
                                    (2.2) การบรรจุหีบหอ
                                                                                              
                                         รายละเอียดบนฉลากหรือหีบหอ ตองมีคำวา ลำไยพวงทองบานแพว หรือมคำ
                                                                                                     ี
                  วา Banphaeo Phuang Thong Longan หรือ Lanyai Phuang Banphaeo ดวยก็ได รวมทังมการระบุ
                                                                                              ้
                                                                                                ี
                  ชื่อเกษตรกร และที่อยูที่สามารถติดตอได เพื่อสรางความมั่นใจใหกับผูบริโภควาไดรับสินคาตามที่ตองการ
                                (3)  การผลิตลำไยนอกฤดูกาล
                                    การผลิตลำไยนอกฤดูเปนแนวทางการจัดการใหเกิดการกระจายของการใหผล
                  ผลิตสำหรับสวนเกษตรกรที่ปลูกเพอการคา เนื่องจากเกษตรกรสามารถกำหนดชวงเวลาทตองการใหผล
                                                                                           ี่
                                               ื่
                  ผลิตออกได ซึ่งจะชวยลดผลกระทบดานราคาในชวงที่ผลผลิตลำไยออกมาสูตลาดมากจนเกินความ
                  ตองการ
                                                                               ี่
                                   ขั้นตอนการผลิตลำไยนอกฤดูกาล เกษตรกรในพนทมการใชสารโพแทสเซยมคลอ
                                                                                ี
                                                                            ื้
                                                                                                 ี
                  เรตบังคับใหตนลำไยออกดอก โดยกอนที่จะมีใชสารโพแทสเซียมคลอเรต ภายหลังจากการเก็บเกี่ยว
                  ผลผลิตในฤดูกอนนี้ใหตัดแตงทรงพุมเพื่อใหทรงพุมโปรงไดรับแสงแดดเต็มที่ชวยใหมีการสะสมธาต ุ
                  อาหารใหเพียงพอสำหรับใหผลผลิตในฤดูถัดไป โดยทั่วไปเกษตรกรในพื้นที่จะเริ่มใชโพแทสเซียมคลอเรต
                  ในชวงเดือนพฤษภาคม อัตรา 10 - 20 กรัมตอตารางเมตร หรือประมาณ 30 - 50 กรัมตอตน ทั้งนี ้
                  ขึ้นอยูกับอายุและขนาดของทรงพุม โรยบริเวณพื้นที่ทรงพุม เพื่อใหตนลำไยออกดอกในชวงเดือน
                  มิถุนายน หลังจากนั้นประมาณ 7 เดือนจึงสามารถเก็บผลผลิตได โดยในระยะเวลา 1 ป สามารถผลิต

                  ลำไยนอกฤดูได 1 ครั้ง อยางไรก็ตามการผลิตลำไยพวงทองบานแพวในปจจุบันสวนใหญเปนการผลิต
                  ลำไยนอกฤดูกาล เนื่องจากการผลิตลำไยตามฤดูกาลไดรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ
                            ี
                  ภูมิอากาศทสงผลใหอุณหภูมิโลกสูงขึ้น โดยเฉพาะชวงเวลาที่ตนลำไยอยูในระยะสรางดอกในชวงเดือน
                            ่
                                  ่
                                             
                  มกราคม อณหภูมทีเหมาะสมอยูในชวง 20 - 25 องศาเซลเซียส หากอุณหภูมิสูงกวาจะทำใหตนลำไยไม 
                                 ิ
                           ุ
                  ติดดอกหรือดอกรวงไมสามารถเจริญเปนผลได



























                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54