Page 106 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 106

3-56






                  และอำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี สามารถจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดินสำหรับปลูกพริกบางชาง

                                                                 ่
                  มีรายละเอียด ดังนี้ (ตารางภาคผนวก ก - 1 (2) และรูปที 3 - 30)
                                1.1) ชั้นความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 156,834 ไร หรือรอยละ 82.22 ของเนื้อท ่ ี
                                                                                      ่
                                             ้
                                                                                      ี
                                                                                              
                                   
                  ความเหมาะสมที่อยูในขอบเขตพืนที่ตามประกาศฯ ประกอบดวย 11 หนวยแผนทดิน ไดแก หนวยแผน
                   ่
                  ทีดิน Dn-cA  Dn-cAI  Dn-sicAI  Dn-siclA  Dn-siclAI  Sso-cA  Sso-cAI  Sso-sicA  Sso-sicAI
                  Tb-cA  Tb-cAI
                                1.2) ชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 28,314 ไร หรือรอยละ 14.84 ของ
                                                                                                 
                                                                         
                  เนื้อที่ความเหมาะสมที่อยูในขอบเขตพื้นที่ตามประกาศฯ ประกอบดวย 10 หนวยแผนทีดิน ไดแก
                                                                                         ่
                                    หนวยแผนทดิน Bk-sicA/ssubM2  Bk-sicAI/ssubM2  Bn-cAIM2  Bph-sicAIM2
                                               ี
                                               ่
                  Bph-sicAM2  Rb-siclAIM2  และSa-siclAIM2 มีขอจำกัด คือ ความเปนประโยชนของธาตุอาหาร (s)
                                1.3) ชั้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 5,603 ไร หรือรอยละ 2.94 ของเนื้อที่ความ
                                                                                ่
                                                                                        
                                                                                ี
                  เหมาะสมที่อยูในขอบเขตพื้นที่ตามประกาศฯ ประกอบดวย 9 หนวยแผนทดิน ไดแก Ay-sicAI  Bk-cAI
                  Bk-sicA/ssub Bk-sicAI/ssub  Bl-cAI  Bph-sicAI  Rb-siclAI  Sa-siclAI  และTc-siclA
                                จากขอมูลการจัดชั้นความเหมาะสมของทีดินสำหรับปลูกพริกบางชางในขอบเขตพื้นท ี ่
                                                                   ่
                  ตามประกาศของกรมทรัพยสินทางปญญา สรุปไดวา พื้นที่ดังกลาวมความเหมาะสมสูง (S1) สำหรับการ
                                                                          ี
                  การผลิตพริกบางชาง เนื่องจากมีสภาพแวดลอมที่มีความเหมาะสมตอการเจริญเติบโตและใหผลผลิต
                  คือ มีอุณภูมิเฉลี่ยทั้งป เทากับ 28.6 องศาเซลเซียส ดินมีความอุดมสมบูรณสูง ดินลึกมากกวา 100
                  เซนติเมตร มีการระบายน้ำด เนื่องจากมีการยกรองเพือชวยใหการระบายน้ำดขึน และยังชวยใหรากพช
                                          ี
                                                                                  ี
                                                               ่
                                                                                    ้
                                                                                                      ื
                                                                                                      ื
                  สามารถเจริญไดดี อยางไรก็ตามในพื้นที่มีปริมาณฝนอยูในระดับมากเกินกวาความตองการของพืช คอ
                  ปริมาณน้ำฝนในพื้นที่มากกวา 850 มิลลิเมตรตอป ดังนั้นในฤดูฝนชวงที่มีฝนตกชุก เกษตรกรจึงควร
                  ตรวจสอบดูแลรักษาแปลงอยูเสมอ เพื่อปองกันความเสียหายของผลผลิตจากน้ำทวมขัง รวมถึงการ
                  ปองกันการระบาดของโรคและแมลงศัตรูในชวงที่ความชื้นสัมพัทธในอากาศสูง นอกจากนี้การที่ดินใน
                  พื้นที่มีเนื้อดินอยูในกลุมดินเหนียว อาจจะมีขอจำกัดดานเขตกรรมอยูบาง กลาวคือ ในชวงที่ดินม ี
                  ความชื้นมากเกินไปทำใหการไถเตรียมดินกอนปลูกพืชทำไดยาก เกษตรกรจึงควรไถเตรียมดินใน

                  ชวงเวลาที่เหมาะสม และควรใชเครื่องจักรที่มีขนาดและกำลังที่เหมาะสมตอการปฏิบัติงาน หรือ
                  เกษตรกรควรหลีกเลี่ยงการปลูกในชวงที่ดินมีความชื้นมากเกินไป ซึ่งขอจำกัดนี้อาจจะไมถอเปนขอกำกด
                                                                                                      ั
                                                                                                 
                                                                                           ื
                  ในการผลิตพืช เนื่องจากเกษตรกรสามารถแกไขหรือจัดการปญหาโดยใชประสบการณในการแกไข
                  ปญหาได สวนบางหนวยแผนที่ดินที่จัดอยูในชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2) ที่มีขอจำกัดดานสมบัต ิ
                  ดินบางประการ ไดแก ระดับความอุดมสมบูรณของดิน ความสามารถในการดูดยึดและปลดปลอยใหเปน
                                                        
                                                                                     ิ
                  ประโยชนตอพืชอยูในระดับปานกลาง กรณีนี้เกษตรกรสามารถแกไขปรับปรุงใหดนมความอุดมสมบูรณ 
                                                                                        ี
                  สูงขึ้นไดดวยการใสอินทรียวัตถุ ปุยคอก หรือปุยหมักอยางสม่ำเสมอ ปรับคา pH ใหเหมาะสม เพื่อให
                  ธาตุอาหารเปนประโยชนสำหรับพืชมากขน นอกจากนี้สำหรับหนวยแผนที่ดินที่จัดอยูในชั้นที่ไม 
                                                       ึ
                                                       ้
                  เหมาะสม (N) สวนใหญเปนดินในที่ลุมที่ยังไมไดมีการปรับรูปแปลงใหมีการระบายน้ำดีขึ้น หากเกษตรกร
                  มีความตองการปลูกพริกบางชางใหเตรียมพื้นที่ดวยการยกรองใหดินมีการระบายน้ำดีขึ้น รวมกับการ
                  ปรับปรุงบำรุงดินกอนปลูกก็จะทำใหพนที่นั้นมีความเหมาะสมสำหรับการผลิตพริกบางชาง ยกเวนหนวย
                                                 ื้







                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
                                         
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111