Page 108 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 108

3-58






                  ในดานการบริหารจัดการน้ำภายในแปลง เชน เกษตรกรทราบวาชวงเวลาใดที่ควรมีการเก็บน้ำไวใน

                                  ี
                  แปลง หรือชวงใดท่น้ำมีความเค็มไมสามารถนำมาใชในแปลงได เปนตน จึงสงผลใหการผลิตลิ้นจีคอม
                                                                                                   ่
                  สมุทรสงครามในพื้นที่ยังคงรักษาทั้งปริมาณและคุณภาพที่ดีอยู สวนบางหนวยแผนที่ดินที่จัดอยูในชั้น
                  ความเหมาะสมปานกลาง (S2) ที่มีขอจำกัดดานสมบัติดินบางประการ ไดแก ระดับความอุดมสมบูรณ 

                  ของดินอยูในระดับปานกลาง กรณีนี้เกษตรกรสามารถแกไขปรับปรุงใหดินมีความอุดมสมบูรณสูงขึ้นได 
                  ดวยการใสอินทรียวัตถุ ปุยคอก หรือปุยหมักอยางสมำเสมอ ปรับคา pH ใหเหมาะสม เพื่อใหธาตุอาหาร
                                                             ่
                                           ึ้
                                                                      ี่
                  เปนประโยชนสำหรับพืชมากขน นอกจากนี้สำหรับหนวยแผนทดินที่จัดอยูในชั้นทีไมเหมาะสม (N) สวน
                                                                                     ่
                                                                                       
                  ใหญเปนดินในที่ลุมที่ยังไมไดมีการปรับรูปแปลงใหมีการระบายน้ำดีขึ้น หากเกษตรกรมีความตองการ
                  ปลูกลิ้นจี่คอมสมุทรสงครามใหเตรียมพื้นที่ดวยการยกรองใหดินมีการระบายน้ำดีขึ้น รวมกับการ
                  ปรับปรุงบำรุงดินกอนปลูกก็จะทำใหพื้นที่นั้นมีความเหมาะสมสำหรับการผลิตลิ้นจี่คอมสมุทรสงคราม
                  ยกเวนหนวยแผนที่ดิน Tc-siclA ซึ่งเปนดินเค็มจัด สภาพื้นที่น้ำทะเลทวมถึง และมีระดับน้ำใตดินสูง
                  ตลอดป จึงไมมีความเหมาะสมตอการทำการเกษตร

                                               ่
                            ปจจุบันการผลิตลิ้นจีคอมสมุทรสงคราม เกษตรกรประสบกับปญหาภาวะโลกรอนที่สงผล
                  ใหอุณหภูมิโลกสูงและมีแนวโนมที่จะสูงขึ้นอีกในอนาคต ซึ่งถือเปนขอกัดที่อิทธิพลอยางมากตอปริมาณ
                  และคุณภาพของผลผลิต เนื่องจากอุณหภูมิที่สูงเกินไปหรือไมเหมาะสมจะทำใหลิ้นจี่ไมออกดอกหรือ
                  ออกดอกแลวไมสามารถเจริญเปนผลได ซึ่งอุณหภูมิเฉลี่ยในพื้นที่ เทากับ 28.6 องสาเซลเซียส จัดอยูใน

                                                                                                      
                  ชั้นความเหมาะสมเล็กนอย ถึงแมวาปจจัยดานดินและน้ำจะมีความเหมาะสมสูงก็ตาม ซึ่งถาหากยังไมม ี
                  การศึกษาวิจัยเชิงลึก เพื่อหาแนวทางในการลดผลกระทบดังกลาว อาจเปนไปไดวาเกษตรกรอาจจะหัน
                  ไปปลูกพืชเศรษฐกิจอื่นที่ใหผลตอบแทนที่กวา
                            4)  สมโอขาวใหญสมุทรสงคราม

                              สมโอเจริญเติบโตไดดีในดินที่มีความอุดมสมบูรณสูง โครงสรางดินไมแนนทึบ มีการ
                  ระบายน้ำดี ดินมีคา pH ดินอยูระหวาง 5.5 - 6.5 อุณหภูมิที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตอยูในชวง 25 - 30
                  องศาเซลเซียส มีความตองการน้ำสม่ำเสมอ โดยปริมาณน้ำฝนที่เหมาะสมอยูในชวง 1,500 - 2,000
                                                                                                    ี่
                  มิลลิเมตรตอป จากปจจัยเหลานี้ เมื่อพิจารณารวมกับคุณภาพที่ดินทางดานกายภาพตามหนวยแผนทดิน
                   ่
                  ทีอยูในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) สมโอขาวใหญสมุทรสงครามตามประกาศ
                  ของกรมทรัพยสินทางปญญา ไดแก ตำบลบางขันแตก ตำบลทายหาด อำเภอเมือง อำเภออัมพวา
                  (ยกเวนตำบลยี่สารและตำบลแพรกหนามแดง) และอำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม สามารถจัด

                  ชั้นความเหมาะสมของที่ดินสำหรับปลูกสมโอขาวใหญสมทรสงคราม มีรายละเอียด ดังนี (ตาราง
                                                                                                ้
                                                                    ุ
                  ภาคผนวก ก - 1 (4) และรูปที 3 - 32)
                                           ่
                                1.1) ชั้นความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 4,299 ไร หรือรอยละ 5.34 ของเนื้อที่ความ
                                                                                         
                                                                                                    ่
                                                                                 ี
                                                                                 ่
                  เหมาะสมที่อยูในขอบเขตพื้นที่ตามประกาศฯ ประกอบดวย 1 หนวยแผนทดิน ไดแก หนวยแผนทดิน
                                                                                                    ี
                  Bk-sicAIM2/ssub
                                1.2) ชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 75,111 ไร หรือรอยละ 93.23 ของ
                                                                         
                  เนื้อที่ความเหมาะสมที่อยูในขอบเขตพนที่ตามประกาศฯ ประกอบดวย 8 หนวยแผนทีดิน ไดแก
                                                                                                
                                                 ื้
                                                                                        ่
                                    หนวยแผนทดิน Dn-cA  Dn-cAI  Dn-sicAI  Sso-cA  Sso-cAI  Sso-sicAI  Tb-cA
                                               ่
                                               ี
                  และTb-cAI  มีขอจำกัด คือ ความเปนประโยชนของธาตุอาหาร (s)

                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113