Page 110 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 110

3-60






                                1.1) ชั้นความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 140,410 ไร หรือรอยละ 82.00 ของเนื้อท ี ่

                                             ื
                                             ้
                                                                                     ี
                  ความเหมาะสมที่อยูในขอบเขตพนที่ตามประกาศฯ ประกอบดวย 9 หนวยแผนทดิน ไดแก หนวยแผน
                                                                                             
                                                                                     ่
                   ่
                  ทีดิน Bk-cAIM2  Bk-cAM2  Bl-cAIM2  Dn-cAI  Sso-cA  Sso-cAI  Sso-sicA  Tb-cA  และTb-cAI
                                1.2) ชั้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 30,822 ไร หรือรอยละ 18.00 ของเนื้อที่ความ
                                                                                  ่
                                         ื
                                         ้
                                                                                          
                  เหมาะสมที่อยูในขอบเขตพนที่ตามประกาศฯ ประกอบดวย 7 หนวยแผนทดิน ไดแก Bk-cA  Bk-cAI
                                                                                  ี
                  Bl-cAI  Tc-cA  Tc-cAI  Tc-cAIM2  และTc-cAM2
                              จากขอมูลการจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดินสำหรับปลูกมะพราวน้ำหอมบานแพว
                                                                                                      
                  ในขอบเขตพื้นทตามประกาศของกรมทรัพยสินทางปญญา สรุปไดวา พื้นที่ดังกลาวมีความเหมาะสมสูง
                               ี
                               ่
                                                                                   ่
                                                                                                   
                  (S1) สำหรับการการผลิตมะพราวน้ำหอมบานแพว เนื่องจากมีสภาพแวดลอมทีมีความเหมาะสมตอการ
                                                         ั้
                                                                                              ุ
                  เจริญเติบโตและใหผลผลิต  คือ มีอุณภูมิเฉลี่ยทงป เทากับ 28.6 องศาเซลเซยส ดินมความอดมสมบูรณ 
                                                                                 ี
                                                                                        ี
                  สูง ดินลึกมากกวา 150 เซนติเมตร มีการระบายน้ำดี เนื่องจากมีการยกรองเพื่อชวยใหการระบายน้ำด ี
                  ขึ้น และยังชวยใหรากพืชสามารถเจริญไดดี อยางไรก็ตามถงแมวาในพื้นที่จะมีปริมาณฝนอยูในระดับชั้น
                                                                  ึ
                  เหมาะสมเล็กนอย คือ ปริมาณน้ำฝนในพื้นที่อยูในชวง 1,000 - 1,200 มิลลิเมตรตอป แตเนื่องจากวาใน
                  พื้นที่จังหวัดสมุทรสาครมีแมน้ำทาจีนเปนแหลงน้ำสายหลักไหลผาน และมีคลองอีกหลายสายไหลผาน
                                                                                                      
                  ทำใหมีน้ำจากแหลงน้ำธรรมชาติเพียงพอสำหรับใชในการผลิตมะพราว  จึงไมถือวาปริมาณน้ำฝนเปนขอ
                  กำจัดในการผลิตมะพราวน้ำหอมบานแพว อีกทั้งเกษตรกรยังมีประสบการณและองคความรูในดานการ
                  บริหารจัดการน้ำภายในแปลง เชน เกษตรกรทราบวาชวงเวลาใดที่ควรมีการเก็บน้ำไวในแปลง หรือชวง
                  ใดที่น้ำมีความเค็มไมสามารถนำมาใชในแปลงได เปนตน จึงสงผลใหการผลิตมะพราวน้ำหอมบานแพว
                                                                                                      
                                                                                         ่
                  ในพื้นที่ยังคงรักษาทั้งปริมาณและคณภาพทดีอยู สำหรับหนวยแผนที่ดินที่จัดอยูในชั้นทีไมเหมาะสม (N)
                                                      ี่
                                               ุ
                                                                                           
                  สวนใหญเปนดินในที่ลุมที่ยังไมไดมีการปรับรูปแปลงใหมีการระบายน้ำดีขึ้น หากเกษตรกรมีความ
                  ตองการปลูกมะพราวน้ำหอมบานแพวใหเตรียมพื้นที่ดวยการยกรองใหดินมีการระบายน้ำดีขึ้น รวมกับ
                  การปรับปรุงบำรุงดินกอนปลูกก็จะทำใหพื้นที่นั้นมีความเหมาะสมสำหรับการผลิตมะพราวน้ำหอมบาน
                  แพว ยกเวนหนวยแผนที่ดิน Tc-cA  Tc-cAI  Tc-cAIM2  และTc-cAM2 ซึ่งเปนดินเค็มจัด สภาพพื้นท ี ่
                  น้ำทะเลทวมถึง และมีระดับน้ำใตดินสูงตลอดป จึงไมมีความเหมาะสมตอการทำการเกษตร ควรใช

                  ประโยชนที่ดินดานอื่น ๆ เชน ทำนาเกลือ หรือเลี้ยงปลา กง
                                                                  
                                                                  ุ
                            6)  ลำไยพวงทองบานแพว
                              ลำไยสามารถเจริญเติบโตไดดีในดินที่มีความอุดมสมบูรณสูง ลักษณะเนื้อดินรวน หรือ

                  ดินรวนปนทราย ระดับของหนาดินลึก การระบายน้ำดี คา pH ดินอยูระหวาง 6.1 - 7.3 อุณหภูมิท ่ ี
                  เหมาะสมตอการเจริญเติบโตอยูในชวง 20 - 25 องศาเซลเซียส แตในระยะกอนออกดอกตองการ
                                                                             
                                                                                             ื่
                  อุณหภูมต่ำอยูในชวง 10 - 12 องศาเซลเซยส ซึ่งอุณหภูมิที่เหมาะสมสำหรับติดดอก และเมอติดผลแลว
                         ิ
                                                     ี
                  อุณหภูมิไมควรสูงกวา 40 องศาเซลเซียส จะทำใหลำไยติดดอกไดดี นอกจากนี้มีความตองการปริมาณ
                  น้ำฝนไมนอยกวา 1,200 มิลลิเมตรตอป และตกกระจายสม่ำเสมอ ถึงแมวาในชวงระยะกอนออกดอก
                  ลำไยตองการน้ำนอย แตในชวงระยะออกดอกติดผลลำไยตองการน้ำมาก จากปจจัยเหลานี้ เมื่อพิจารณา
                  รวมกับคุณภาพที่ดินทางดานกายภาพตามหนวยแผนที่ดินทีอยูในขอบเขตพื้นที่การผลิตพชสิ่งบงชี้ทาง
                                                                    ่
                                                                                             ื
                  ภูมิศาสตร (GI) ลำไยพวงทองบานแพวตามประกาศของกรมทรัพยสินทางปญญา ไดแก อำเภอบานแพว







                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115