Page 107 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 107

3-57






                  แผนที่ดิน Tc-siclA ซึ่งเปนดินเค็มจัด สภาพื้นที่น้ำทะเลทวมถึง และมีระดับน้ำใตดินสูงตลอดป จึงไมม ี

                  ความเหมาะสมตอการทำการเกษตร
                            3)  ลิ้นจี่คอมสมุทรสงคราม
                                          
                              ลิ้นจี่เปนไมผลเมืองรอนชื้นสามารถเจริญเติบโตไดดีในดินที่มีเนื้อดินเหนียว ดินรวน
                  หรือดินรวนปนดินทราย มีความอุดมสมบูรณสูง การระบายน้ำดี ระดับของหนาดินลึก คา pH ดินอยู 
                                                                                                     
                  ระหวาง 6.1 - 7.3 อุณหภูมิที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตอยูในชวงต่ำกวา 40 องศาเซลเซียส แตใน
                                                ิ
                  ระยะกอนออกดอกตองการอุณหภูมในชวง 16 - 20 องศาเซลเซียส ติดตอกันไมนอยกวา 3 สัปดาห จะ
                  ทำใหตนลิ้นจี่ติดดอกดี และเมื่อติดผลแลวอุณหภูมิไมควรสูงกวา 40 องศาเซลเซียส เพราะจะทำใหผล

                  แหงและแตกได นอกจากนี้มีความตองการปริมาณน้ำฝนไมนอยกวา 1,400 มิลลิเมตรตอป และตก
                                
                  กระจายสม่ำเสมอ จากปจจัยเหลานี้ เมื่อพิจารณารวมกับคุณภาพที่ดินทางดานกายภาพตามหนวยแผน
                       ่
                  ที่ดินทีอยูในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ลิ้นจี่คอมสมุทรสงครามตามประกาศ
                  ของกรมทรัพยสินทางปญญา ไดแก ตำบลบางขันแตก อำเภอเมือง อำเภออมพวา และอำเภอบางคนท    ี
                                                                                 ั
                  จังหวัดสมุทรสงคราม สามารถจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดินสำหรับปลูกลิ้นจี่คอมสมุทรสงคราม ม ี
                                                               ่
                  รายละเอียด ดังนี้ (ตารางภาคผนวก ก - 1 (3) และรูปที 3 - 31)
                                1.1) ชั้นความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 56,124 ไร หรือรอยละ 64.80 ของเนื้อท ่ ี
                                                                                             
                  ความเหมาะสมที่อยูในขอบเขตพื้นที่ตามประกาศฯ ประกอบดวย 9 หนวยแผนทดิน ไดแก หนวยแผน
                                                                                     ่
                                                                                     ี
                  ทีดิน Bk-sicA/ssubM2  Bk-sicAI/ssubM2  Dn-cA  Dn-cAI  Dn-sicAI  Sso-cA  Sso-cAI  Sso-sicA
                   ่
                  และSso-sicAI
                                1.2) ชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 26,718 ไร หรือรอยละ 30.85 ของ
                                                                         
                  เนื้อที่ความเหมาะสมที่อยูในขอบเขตพื้นที่ตามประกาศฯ ประกอบดวย 2 หนวยแผนทีดิน ไดแก
                                                                                        ่
                                                                                                
                                              ี
                                              ่
                                    หนวยแผนทดิน Tb-cA  และTb-cAI   มีขอจำกัด คือ ความเปนประโยชนของธาต ุ
                  อาหาร (s)
                                1.3) ชั้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 3,765 ไร หรือรอยละ 4.35 ของเนื้อที่ความ
                  เหมาะสมที่อยูในขอบเขตพื้นที่ตามประกาศฯ ประกอบดวย 4 หนวยแผนทดิน ไดแก Bk-cAI
                                                                                        ี
                                                                                        ่
                                                                                                
                  Bk-sicA/ssub  Bk-sicAI/ssub  และTc-siclA
                              จากขอมูลการจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดินสำหรับปลูกลิ้นจี่คอมสมุทรสงคราม
                  ในขอบเขตพื้นทตามประกาศของกรมทรัพยสินทางปญญา สรุปไดวา พื้นที่ดังกลาวมีความเหมาะสมสูง
                               ่
                               ี
                                                                                                 ี่
                  (S1) สำหรับการการผลิตลิ้นจี่คอมสมุทรสงคราม เนื่องจากลักษณะที่ตั้งทางภูมิศาสตรที่เปนพนทราบลุม
                                                                                              ื้
                  ปากแมน้ำแมกลองมีการทับถมกันของตะกอนแมน้ำที่มีธาตุอาหารสูง โดยเฉพาะอยางยิ่งธาต    ุ
                  โพแทสเซียม สงผลใหดินมีความอุดมสมบูรณสูง นอกจากนี้ดินในพื้นที่ยังเปนดินลึกมากกวา 150
                                                                                    ้
                                                                                  ี
                                                                                                      ื
                  เซนติเมตร มีการระบายน้ำด เนื่องจากมีการยกรองเพือชวยใหการระบายน้ำดขึน และยังชวยใหรากพช
                                                               ่
                                          ี
                  สามารถเจริญไดดี อยางไรก็ตามถึงแมวาในพื้นที่จะมีปริมาณฝนอยูในระดับชั้นเหมาะสมเล็กนอย คอ
                                                                                                      ื
                  ปริมาณน้ำฝนในพื้นที่อยูในชวง 1,000 - 1,300 มิลลิเมตรตอป แตเนื่องจากวาในพื้นที่จังหวัด
                  สมุทรสงครามมีแมน้ำแมกลองเปนแหลงน้ำสายหลักไหลผาน และมีคลองสำคัญ เชน คลองอัมพวา
                  คลองลำปะโดง ทำใหมีน้ำจากแหลงน้ำธรรมชาติเพียงพอสำหรับใชในการผลิตลิ้นจี่ จึงไมถือวาปริมาณ
                                                                                                 
                                                
                  น้ำฝนเปนขอกำจัดในการผลิตลิ้นจี่คอมสมทรสงคราม อีกทั้งเกษตรกรยังมีประสบการณและองคความรู
                                                                                          
                                                     ุ

                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
                                         
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112