Page 103 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 103

3-53






                                C : ลูกคลื่นลอนชัน        5 - 12

                                D : ชันปานกลาง            12 - 20
                                E : ชัน                   20 - 35
                                F : ชันมาก                35 - 50

                                G : ชันที่สุด             > 50
                            10) ความเสียหายจากการกัดกรอน (Erosion hazard) : e
                               คุณลักษณะดินที่เปนตัวแทน ไดแก ความลาดชันของพื้นที่และปริมาณดินที่สูญเสีย
                                                                                               ู
                                                                                                 ั
                                                                    ็
                                                           ู
                  (soil loss) พื้นที่ที่มีความลาดชันสูงโอกาสทดินจะถกกัดกรอนกเปนไปไดงายขึ้น เมื่อผิวหนาดินถกกดกรอน
                                                                            
                                                     ี่
                  ซึ่งสวนใหญเกิดจากอิทธิพลของน้ำ ดินจะถูกพัดพาไปโดยขบวนการไหลบาของน้ำทำใหธาตุอาหารพช
                                                                                                      ื
                  ที่อยูในดินสูญเสียตามไปดวย รวมทั้งตะกอนที่เกิดขึ้นจะมีผลกระทบตอสภาพแวดลอมโดยทั่วไป
                                                              ี
                                                              ่
                                                                         ้
                                                                              ิ
                        3.3.2  การจำแนกชันความเหมาะสมของการใชทดนพชสิ่งบงชีทางภูมศาสตร
                                                               ิ
                                                                  ื
                                       ้
                            1) การกำหนดระดับความเหมาะสมของคาพิสัย (Rating) สำหรับความตองการประเภท
                  การใชประโยชนที่ดิน
                              ความตองการของประเภทการใชประโยชนที่ดิน หมายถึง ความตองการดานคุณภาพ
                  ที่ดินหรือคุณลักษณะที่ดินของพืชแตละชนิด ซึ่งพืชแตละชนิดมีความตองการคุณภาพที่ดินเพื่อการ
                  เจริญเติบโตแตกตางกันไป เชน อุณหภูมิที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของพืชชนิดหนึ่งจะถกกำหนดให
                                                                                             ู
                  มีคาพิสัยสูง และในทางตรงกันขามกันอุณหภูมิท่ทำใหพืชเจริญเติบโตชาหรือหยุดชะงักการเจริญเติบโต
                                                          ี
                  จะถูกกำหนดใหมีคาพิสัยต่ำสุด
                            2) การจำแนกชั้นความเหมาะสมของที่ดิน (Land Suitability Classification)
                              จากหลักการของ FAO Framework ไดจำแนกอันดับความเหมาะสมของที่ดินเปน
                  2 อันดับ (Order) คือ

                                1) อันดับที่เหมาะสม (Order S, suitability)
                                2) อันดับที่ไมเหมาะสม (Order N, not suitability)
                                และจาก 2 กลุมที่ไดรับแบงยอยออกเปน 4 ชั้น (class) ดังนี้

                                S1 : หมายถึง ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง (Highly suitable)
                                S2 : หมายถง ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง (Moderately suitable)
                                            ึ
                                S3 : หมายถึง ชั้นที่มีความเหมาะสมเล็กนอย (Marginally suitable)
                                N  : หมายถึง ชั้นที่ไมมีความเหมาะสม (Not suitable)

                                ชั้นความเหมาะสมทั้ง 4 ชั้น สามารถกำหนดโดยพิจารณาเปรียบเทียบกับผลผลิตตาม

                  หลักเกณฑเดียวกันกับการกำหนดคาพิสัย ซึ่งแสดงไวในตารางที่ 3 - 1 โดยใชฐาน ดังนี้
                                S1 = 80 - 100 % optimum yield,  S2 = 40 - 80 % optimum yield
                                S2 = 20 - 40 % optimum yield,   N  = นอยกวา 20 % optimum yield













                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108