Page 100 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 100

3-50






                  3.3   การประเมินคุณภาพที่ดินดานกายภาพ

                        การประเมินคุณภาพที่ดินเปนขั้นตอนที่มีความสำคัญตอการวางแผนการใชที่ดินใหเกิดผลตาม
                  เปาหมาย โดยการพิจารณาจากศักยภาพของหนวยทรัพยากรที่ดินตอการใชประโยชนที่ดินแตละ

                  ประเภทในระดับการจัดการที่แตกตางกัน การประเมินคุณภาพที่ดินมีวิธีการประเมินหลายวิธี เชน
                  หลักการประเมินคุณภาพที่ดินของกระทรวงเกษตรแหงประเทศสหรัฐอเมริกา (USDA) สำหรับกรม
                  พัฒนาที่ดินไดยึดถือหลักการประเมินตามวิธีประเมินคุณภาพที่ดินของ FAO Framework (1983, 1985)
                  ซึ่งมีวิธีการประเมินคุณภาพที่ดินที่สามารถทำได 2 รูปแบบ ไดแก รูปแบบแรก การประเมินทางดาน

                  คุณภาพ (Qualitative Land Evaluation) เปนการประเมินเชิงกายภาพเทานั้น วาดินนั้น ๆ มีความ
                  เหมาะสมมากนอยเพียงใดตอการใชประโยชนที่ดินประเภทตาง ๆ และรูปแบบที่สอง การประเมิน
                  ทางดานปริมาณหรือดานเศรษฐกิจ (Quantitative Land Evaluation หรือ Economic Evaluation)
                  โดยการประเมินจากคาตอบแทนในรูปผลผลิตที่ไดรับ ตัวเงินในการลงทุนและตัวเงินจากผลตอบแทนท ่ ี

                                                                         ิ
                                                                                   ้
                  ไดรับ ซึ่งในการประเมินคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใชที่ดนพืชสิ่งบงชีทางภูมิศาสตร (GI) ของ
                  ประเทศไทย (สมโอนครชัยศรี พริกบางชาง ลิ้นจี่คอมสมุทรสงคราม สมโอขาวใหญสมุทรสงคราม มะ
                  พรางน้ำหอมบานแพว ลำไยพวงทองบานแพว) ไดเลือกใชเฉพาะการประเมินทางดานคุณภาพเทานั้น
                  โดยไมไดมีการประเมินทางดานปริมาณหรือดานเศรษฐกิจรวมดวย

                        3.3.1 คุณภาพที่ดิน คือ คุณสมบัติของที่ดินที่มีอิทธิพลตอการเจริญเติบโตและผลผลิตของพช
                                                                                                      ื
                  คุณภาพที่ดินอาจประกอบดวยคุณลักษณะที่ดิน (Land characteristic) ตัวเดียวหรือหลายตัวก็ได เชน
                                                                                                  ึ่
                                                                                                     ี
                  ความเปนประโยชนของออกซเจนตอรากพช (Oxygen availability to roots) เปนคุณภาพที่ดินซงมผล
                                                     ื
                                               
                                          ิ
                  มาจากคุณลักษณะของที่ดินหลายตัว เชน ชั้นการระบายน้ำของดิน (Soil drainage class) ความลึกของ
                  ระดับน้ำใตดิน (depth water table) ระยะเวลาของน้ำทวมขัง (period of waterlogging)
                            คุณภาพที่ดินที่นำมาประเมินสำหรับการปลูกพืชในระบบของ FAO framework
                  ไดกำหนดไวทั้งหมด 25 ชนิด สำหรับประเทศไทยอาจนำมาใชเพียงไมกี่ชนิด ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความพรอม
                  ของขอมูล ความแตกตางของภูมิภาค และระดับความรุนแรงของคุณลักษณะที่ดินที่มีผลตอผลผลิต

                                                                                              ่
                                                                                              ื
                  ตลอดจนชนิดของพืช และความตองการใชประโยชนที่ดิน (land use requirements) เมอพิจารณา
                  ตามเงื่อนไขการคัดเลือกคุณภาพที่ดิน สามารถกำหนดคุณภาพที่ดินที่ใชในการประเมินได 10 ชนิด ดัง
                                                ี่
                  แสดงในตารางที่ 3 - 17 และตารางท 3 - 18 มีรายละเอียดดังนี้
                            1) อุณหภูมิ (Temperature regime) : t
                                คุณลักษณะดินที่เปนตัวแทน ไดแก คาอุณหภูมิเฉลี่ยในฤดูปลูก (mean temperature

                  in growing period) เพราะอุณหภูมิมีอิทธิพลตอการงอกของเมล็ด ตอการออกดอกของพืชบางชนิด
                  และมีสวนสัมพันธกับขบวนการสังเคราะหแสง ซึ่งจะสงผลกระทบตอการเจริญเติบโตของพืช
                            2) ความชุมชื้นที่เปนประโยชนตอพืช (Moisture availability) : m

                              คุณลักษณะดินที่เปนตัวแทน ไดแก ระยะเวลาการทวมขังของน้ำในฤดูฝน ปริมาณ
                  น้ำฝนเฉลี่ยในรอบปหรือความตองการน้ำในชวงการเจริญเติบโตของพืช นอกจากนี้ควรพิจารณาถึงการ
                  กระจายของน้ำฝนในแตละพื้นที่และลักษณะของเนื้อดิน ซึ่งมีผลทางออมในเรื่องความจุในการอุมน้ำท ี ่
                               
                                 ื
                  เปนประโยชนตอพช





                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105