Page 96 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 96

3-46


                                                                                 ิ
               น้ำตาล ดินลางตอนลาง พบในระดับความลึก 1-1.5 เมตร พบเปนดินเลน สีน้ำเงน พบเปลือกหอยปะปนตลอด
               จะพบรอยไถลในดินลาง พื้นที่เพาะปลูกลำไยพวงทองบานแพวมีสภาพพื้นทราบเรียบ ดินมีการระบายน้ำเลว ม ี
                                                                             ี่
                                       ื่
                                                                                    
                                                                               ุ
                                                                                
               การจัดการโดยการยกรองเพอปลูกลำไย ชุดดินบางกอกมปริมาณอนทรียวัตถคอนขางต่ำ มีปริมาณฟอสฟอรัส
                                                              ี
                                                                      ิ
               ที่เปนประโยชนตอพืชในดินอยูในระดับต่ำ แตมีปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนตอพืชในดินอยูในระดับสูง
               ซึ่งสงผลตอการสรางความหวานของลำไยพวงทองบานแพวไดเปนอยางดี
                           ลักษณะและสมบัติของชุดดินธนบุรี (Tb) ที่ปลูกลำไยพวงทองบานแพวนั้นมีลักษณะเปนดินลึก
               มาก ดินบนเปนดินเหนียว สีดำ พบจุดประสีน้ำตาลแก ดินลางตอนบนเปนดินเหนียวสีเทาหรือสีเทาเขม และ
                                                                                              ี่
               ดินลางเปนดินเลนสีเทาปนเขียวหรือสีน้ำเงิน พื้นที่เพาะปลูกลำไยพวงทองบานแพวมีสภาพพนทราบเรียบ ดิน
                                                                                            ื้
                                                                                   
               มีการระบายน้ำเลว มีการจัดการโดยการยกรองเพื่อปลูกลำไย ชุดดินธนบุรีมีปริมาณอินทรียวัตถุและปริมาณ
                                                                                    ี
                                                                                                      ื
               ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนตอพืชในดินอยูในระดับปานกลาง  แตมีปริมาณโพแทสเซยมเปนประโยชนตอพชใน
               ดินอยูในระดับสูง ซึ่งเปนประโยชนตอการสรางความหวานใหแกลำไยพวงทองบานแพว
                                                                    
                                                        ่
                           จากลักษณะและสมบัติของชุดดินทีพบมากในพื้นทีขอบเขตพื้นที่การผลิตลำไยพวงทองบานแพว
                                                                     ่
               ตามประกาศฯ นั้น พบวา ดินสวนใหญมีลักษณะเปนดินลึกมาก เปนดินที่มีการระบายน้ำเลว พื้นที่ปลูกลำไย
                                       ี
                                       ่
               พบในสภาพพื้นที่ตั้งแตพื้นทราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ พื้นที่ปลูกลำไยสวนใหญอยูในดินลุม มีปริมาณ
               โพแทสเซียมที่เปนประโยชนตอพืชในดินอยูในระดับสูง ซึ่งเปนธาตุอาหารที่สำคัญและเปนประโยชนตอการ
               ปลูกลำไยพวงทองบานแพวเปนอยางมาก






















































               แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
                                       
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101