Page 95 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 95

3-45


                     3.2.6 ลำไยพวงทองบานแพว
                                          
                                                                       ี่
                                                                                                        ิ
                           จากการวิเคราะหขอมูลการสำรวจดินของกรมพฒนาทดิน มาตราสวน 1:25,000 (กองสำรวจดน
                                                                  ั
               และวิจัยทรัพยากรดิน, 2564) ขอมูลการใชที่ดินจังหวัดสมุทรสาคร (กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน, 2562)
               ขอมูลพื้นที่ชลประทาน (กรมชลประทาน, 2560) ขอมูลผลวิเคราะหดิน (Lab analysis) ของชุดดินในประเทศ
               ไทย (Soil series) (กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน, 2564) ขอมูลขอบเขตการปกครอง (กรมการปกครอง
               , 2556) และขอมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ที่อยูในประกาศของกรมทรัพยสินทาง

                                                                                                       ื
                                                                                                  ิ
                                                                               ่
                                                             ิ
               ปญญา สามารถจัดทำหนวยที่ดินไดทั้งสิ้น 15 หนวยที่ดน (ตารางภาคผนวกที 5) แบงเปน หนวยที่ดนในพ้นท ี ่
               ลุม 15 หนวยที่ดิน มีเนื้อที่ 141,028 ไร คิดเปนรอยละ 55.49 ของพื้นทขอบเขตพื้นที่การผลิตลำไยพวงทอง
                                                                            ่
                                                                            ี
               บานแพว ตามประกาศฯ ไดแก หนวยที่ดินลุมทั่วไป หนวยทดินลุมที่อยูในเขตชลประทาน (I) หนวยที่ดินที่ม ี
                                                                  ่
                                                                  ี
               การยกรอง (M2) หนวยที่ดินที่มีการยกรองและอยูในเขตชลประทาน (IM2) และหนวยที่ดินที่มีการพูนโคนและ
                                                                                                   ี่
               อยูในเขตชลประทาน (IM4) และหนวยเบ็ดเตล็ด มีเนื้อที่ 113,143 ไร คิดเปนรอยละ 44.51 ของพื้นทขอบเขต
                    ี่
                                                                                                 ี่
                                                                                              ื้
               พื้นทการผลิตลำไยพวงทองบานแพว ตามประกาศฯ ไดแก พื้นที่เลี้ยงสัตวน้ำ พื้นที่ปาชายเลน พนทชุมชนและ
               สิ่งปลูกสราง และพื้นที่น้ำ (รายละเอียดดังรูปที่ 3-26)
                                                                                                       
                           หนวยที่ดินที่มีการยกรอง (M2) คือหนวยที่ดินในพื้นที่ลุมทมการทำการเกษตรโดยการปลูกไมยืน
                                                                            ี
                                                                          ี่
                        
               ตนหรือไมผล
                           หนวยที่ดินที่มีคันนา (M3) คือหนวยที่ดินในพื้นที่ดอนที่มีการทำการทำคันนาเพื่อปลูกขาว
                           หนวยที่ดินที่มีการพูนโคน (M4) คือหนวยที่ดินในพื้นที่ลุมที่มีการทำการเกษตรโดยการปลูกพชไร
                                                                                                      ื
               พืชไรหมุนเวียน หรือพืชสวน
                           ซึ่งหนวยที่ดินดังกลาว สามารถจำแนกเปนประเภทกลุมดินตามลักษณะและสมบัติดิน
               (รายละเอียดดังรูปที่ 3-43) โดยในพื้นทขอบเขตพื้นที่การผลิตลำไยพวงทองบานแพวตามประกาศฯ พบวา
                                                 ่
                                                 ี
                                                               ี่
                                                                                               ิ
                                                                                   ี่
                                   ี
                                                                                ื้
               กลุมดินที่มีการยกรองมเนื้อที่ 84,315 ไร ซึ่งเปนกลุมดินทมีเนื้อที่มากที่สุดในพนทดังกลาว โดยคดเปนรอยละ
               33.17 ของพื้นที่ตามประกาศฯ รองลงมาคือ กลุมดินเหนียว มีเนื้อที่ 56,701 ไร (รอยละ 22.31) และกลุม
               ดินเลนชายทะเล มีเนื้อที่ 12 ไร (รอยละ 0.01)
                           ชุดดินที่พบในพื้นทขอบเขตพื้นที่การผลิตลำไยพวงทองบานแพวตามประกาศฯ ไดแก ชุดดิน
                                           ่
                                                                                                    
                                           ี
               ดำเนินสะดวก (Dn) ชุดดินบางกอก (Bk) ชุดดินธนบุรี (Tb) ชุดดินสมุทรสงคราม (Sso) ชุดดิน
               บางเลน (Bl) และชุดดินทาจีน (Tc) (รายละเอียดดังรูปที่ 3-28)
                                                                                                     ี
                                                                                                     ่
                           จากการวิเคราะหขอมูลการใชที่ดินจังหวัดสมุทรสาคร ป 2562 และจากการสำรวจพื้นทพบวา
               ลำไยพวงทองบานแพวปลูกอยูบนชุดดินดำเนินสะดวก (Dn) มากที่สุด รองลงมาคือ ชุดดินบางกอก (Bk) และ
               ชุดดินธนบุรี (Tb)
                           ซึ่งลักษณะและสมบัติของชุดดินดำเนินสะดวก (Dn) ทีปลูกลำไยพวงทองบานแพวนั้นมีลักษณะ
                                                                        ่
                                                  ิ
                                      ิ
               เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดนเหนียวหรือดนเหนียวปนทรายแปง สีเทาเขมถึงสีดำ มีจุดประสีน้ำตาลปนเหลือง
               ดินลางเปนดินเหนียวหรือดนเหนียวปนทรายแปง เปนสีเทาออนปนเขียวมะกอก และพบเปลือกหอยปะปนอยู
                                      ิ
                           ่
               จำนวนมาก ทีความลึกมากกวา 150 ซม. ดินจะมีสีเทาปนเขียว พื้นที่เพาะปลูกลำไยพวงทองบานแพวสภาพ
               พื้นทราบเรียบ ดินมีการระบายน้ำคอนขางเลว มีการจัดการโดยการยกรองเพอปลูกลำไย ชุดดนดำเนินสะดวก
                   ี่
                                                                                             ิ
                                                                               ื่
                                             
                                                                                                      ั
               มีปริมาณอินทรียวัตถุ ปริมาณฟอสฟอรัส และปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนตอพืชในดินอยูในระดบสูง
               ซึ่งเปนธาตุอาหารที่สำคัญและเปนประโยชนตอการปลูกลำไยพวงทองบานแพวเปนอยางมาก
                                                                                                      ิ
                           ลักษณะและสมบัติของชุดดินบางกอก (Bk) ที่ปลูกลำไยพวงทองบานแพวนั้นมีลักษณะเปนดนลึก
                                           ั
               มาก ดินบนเปนดินเหนียว สีดำ มกพบจุดประสีน้ำตาล ดินบนตอนลางเปนดินเหนียว สีเทาเขมหรือสีเทาปน


                                       
               แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100