Page 101 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 101

3-51






                            3) ความเปนประโยชนของออกซิเจนตอรากพืช (Oxygen availability to root) : o

                                คุณลักษณะดินที่เปนตัวแทน ไดแก สภาพการระบายน้ำของดิน ทั้งนี้เพราะพืชทั่ว ๆ ไป
                  รากพืชตองการออกซิเจนในขบวนการหายใจ ดังนั้นเมื่อพิจารณาถึงปจจัยของดินที่มีสภาพการระบายน้ำด  ี
                  จะมีการถายเทอากาศระหวางเหนือผิวดินกับภายในดินไดดี สวนในดินที่มีสภาพการระบายน้ำเลว

                  การถายเทอากาศเปนไปไดนอย ทำใหปริมาณกาซออกซิเจนในดินที่ถูกรากพืชดูดไปมีปริมาณลดลง
                                                    ี่
                                                                         ิ่
                                                                                                  ื
                          ี
                          ่
                           
                  ในขณะทกาซคารบอนไดออกไซดในดินทไดจากขบวนการหายใจเพมขึ้น ซึ่งจะมีผลกระทบกระเทอนตอ
                  การเจริญเติบโตของรากพืชและอาจตายไดในภาวะที่รากพืชขาดกาซออกซเจนอยางรุนแรงและเปน
                                                                                  ิ
                  เวลานานพอ
                                สำหรับพืชไรและไมผลไมสามารถเจริญเติบโตไดในสภาพที่มีการแชขังของน้ำ
                  เปนเวลานานตั้งแต 5 - 14 วันขึ้นไป ทั้งนี้ขึ้นอยูกับชนิดพืช ในสภาพน้ำแชขังปริมาณออกซิเจน
                                                                                            ี
                                      ี
                                                         ิ
                                                                          
                                                  
                                           ื
                                                                                            ่
                                                                                         ื
                  ในดินมีนอยมากหรือไมม รากพชจะขาดกาซออกซเจนอยางรุนแรงและถาเปนเวลานานพอพชทปลูกจะตายได  
                                สำหรับขาวชอบสภาพที่มีการแชขังของน้ำเปนระยะเวลานาน ตองการดินที่มีการ
                  ระบายน้ำเลว ทั้งนี้เพราะขาวมีอวัยวะพิเศษที่สามารถดูดออกซิเจนจากน้ำที่แชขัง จึงทำใหสามารถ
                  เจริญเติบโตไดดี
                                ชั้นมาตรฐานการระบายน้ำ
                                Classes
                                   1. Very Poorly Drained
                                   2. Poorly Drained
                                   3. Somewhat Poorly Drained
                                   4. Moderately Well Drained

                                   5. Well Drained
                                   6. Excessively Drained
                            4) ความเปนประโยชนของธาตุอาหาร (Nutrient availability) : s
                              คุณลักษณะดินที่เปนตัวแทน ไดแก ปริมาณธาตุอาหารพืชในดิน ในที่นี้พจารณาเฉพาะ
                                                                                           ิ
                                                                                                      
                  ธาตุอาหารหลัก คือ ธาตุไนโตรเจน ธาตุฟอสฟอรัส และธาตุโพแทสเซียม ซึ่งเปนธาตุอาหารที่สำคัญตอ
                  การเจริญเติบโตของพืชทุกชนิด ประกอบกับการพิจารณามาถึงปฏิกิริยาดิน ซึ่งจะมีผลตอลักษณะทางเคม ี
                                                                                                      ิ
                  ของธาตุอาหารพืชในดินที่จะอยูในรูปที่พืชสามารถนำธาตุนั้นไปใชไดหรือไม นอกจากนั้นแลวปฏิกิริยาดน
                  จะมีผลตอกิจกรรมของจุลินทรียดิน ซึ่งมีสวนสำคัญในขบวนการยอยสลายอินทรียวัตถุดวย
                            5) ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (Nutrient retention capacity) : n
                                คุณลักษณะดินที่เปนตัวแทน ไดแก ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก (Cation
                  exchange capacity) และความอิ่มตัวดวยคาดาง (Base saturation) โดยที่ปจจัยทั้งสองนี้มีผล
                  ทางออมตอการเจริญเติบโตของพืชในเรื่องปริมาณธาตุอาหารที่ดินสามารถดูดยึด และการปลดปลอย

                  ธาตุอาหารใหเปนประโยชนตอพช
                                            ื











                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
                                         
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106