Page 102 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 102

3-52






                              ชั้นมาตรฐานของความอิ่มตัวดวยดาง (B.S)

                              Classes                     % B.S
                                1) ต่ำ                    < 35
                                2) คอนขาง               35 - 50

                                3) ปานกลาง                50 - 75
                                4) สูง                    > 75
                            6) สภาวะการหยั่งลึกของราก (Rooting conditions) : r
                              คุณลักษณะดินที่เปนตัวแทน ไดแก ความลึกของดิน ซึ่งจะมีสวนสัมพันธกับความลึก

                  ของระบบรากพืชในการหยั่งลึกเพื่อหาอาหารและยึดลำตน ดินที่มีความลึกมากโอกาสที่รากจะ
                  เจริญเติบโตก็เปนไปไดงาย
                              ชั้นมาตรฐานความลึกของดิน
                              Classes                     เซนติเมตร

                                1) ตื้นมาก                < 25
                                2) ตื้น                   25 - 50
                                3) ลึกปานกลาง             50 - 100
                                4) ลึก                    100 - 150

                                5) ลึกมาก                 > 150
                            7) การมีเกลือมากเกินไป (Excess of salts) : x
                                                                                                 ั
                              คุณลักษณะดินที่เปนตัวแทน ไดแก ปริมาณเกลืออิสระที่สะสมมากเกินพอ จนเปนอนตราย
                  ตอการเจริญเติบโตของพืชมี exchangeable Na < 15 % หรือที่เรียกวา Salinity จะมีอิทธิพลที่ทำความ

                  เสียหายใหกับพืชโดยขบวนการ Osmosis กลาวคือ ถามีเกลือสะสมในดินมาก ปริมาณน้ำในรากพช
                                                                                                      ื
                                                                                            
                  และตนพืชจะถูกดูดออกมาทำใหตนพืชขาดน้ำ ถาความเค็มมีระดับสูงมากอาจทำใหพืชตายได พืชแตละชนิด
                                                                                                      ึ
                  จะมีความสามารถในการทนทานตอปริมาณเกลือแตกตางกันไป เชน ฝายมีความทนทานสูงมากถง
                  10 - 16 mmho/cm องุน ขาว ขาวโพด ถั่วตาง ๆ มะเขือ มีความทนทานปานกลาง ประมาณ 4 - 10

                  mmho/cm สำหรับสม มะนาว ออย มีความทนทานต่ำมาก ประมาณ 2 - 4 mmho/cm
                            8) สภาวะการเขตกรรม (Soil workability) : k
                                คุณลักษณะดินที่เปนตัวแทน ไดแก ชั้นความยากงายในการเขตกรรม ซึ่งอาจหมายถง ึ

                  การไถพรวนโดยเครื่องจักรหรือสัตว หรือเครื่องมืออื่น ๆ ที่ใชมือก็ได ชั้นระดับความยากงายในการไถพรวน
                  ใชมาตรฐานเดียวกันกับการจัดลำดับการหยั่งลึกของรากแตใชเฉพาะดินบนเทานั้น
                            9) ศักยภาพการใชเครื่องจักร (potential for mechanization) : w
                              คุณลักษณะดินที่เปนตัวแทน ไดแก ความลาดชันของพื้นที่ ปริมาณหินโผล ปริมาณ
                  กอนหิน และการมีเนื้อดินเหนียว ซึ่งปจจัยทั้ง 4 เหลานี้ อาจเปนอุปสรรคตอการไถพรวนโดยเครื่องจักร

                              ชั้นมาตรฐานความลาดชัน
                              Classes                     % slope
                                A : ราบเรียบ              0 - 2

                                B : ลูกคลื่นลอนลาด        2 - 5





                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107