Page 104 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 104

3-54






                         ี
                         ่
                  ตารางท 3 - 17 แสดงระดับคาพิสัยในรูปของผลผลิตและการลงทุน
                         ระดับคาพิสัย      % optimum yield*         การจัดการเพื่อใหไดผลผลิต 80 %
                     (Factor rating class)                                ของ optimum yield
                                                                                    
                   S1 : Highly suitable          มากกวา 80                       ไมม  ี
                   S2 : Moderately suitable                       จำเปนตองมี สามารถปฏิบัติได และมีความ
                                                   40 - 80
                                                                  เปนไปไดเชิงเศรษฐกิจ
                   S3 : Marginally suitable                       จำเปนตองมี สามารถปฏิบัติได และ
                                                   20 - 40
                                                                  เหมาะสมดานเศรษฐกิจในบางกรณ  ี

                   N : Not suitable                               ขอจำกัดนั้น ๆ ยากหรือไมสามารถแกไขได
                                                 นอยกวา 20
                                                                  ดวยการจัดการ

                                      * % optimum yield  =  expected yield x 100
                                                               optimum yield


                        3.3.3 สรุปชั้นความเหมาะสมของทดินสำหรับพืชสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร
                                                     ี่
                                    ้
                             การจัดชันความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (สมโอนครชัยศรี พริกบาง
                                                      
                  ชาง ลิ้นจี่คอมสมุทรสงคราม สมโอขาวใหญสมุทรสงคราม มะพราวน้ำหอมบานแพว ลำไยพวงทองบาน
                  แพว) ตามระดับความเหมาะสมของคาพิสัย (Factor rating class) คุณภาพที่ดิน 10 ชนิด สำหรับพืช (ตาราง

                  ภาคผนวก ก - 1) สามารถสรุปรายละเอยดไดดังนี้
                                                      
                                                  ี
                            1)  สมโอนครชัยศรี
                              สมโอสามารถเจริญเติบโตไดดีในดนทีมีเนื้อดินเหนียวหรือดินรวนปนดินทราย มีความ
                                                               ่
                                                             ิ
                  อุดมสมบูรณสูง การระบายน้ำดี ระดับความลึกของหนาดินไมต่ำกวา 50 เซนติเมตร คา pH ดินอยู 
                  ระหวาง 5.5 - 6.5 อุณหภูมิที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตและใหผลิตดีอยูในชวง 25 - 30 องศา
                  เซลเซียส มีความตองการปริมาณน้ำฝนไมนอยกวา 1,200 มิลลิเมตรตอป และตกกระจายสม่ำเสมอ
                                                                                                  ่
                  จากปจจัยเหลานี้ เมื่อพิจารณารวมกับคุณภาพที่ดินทางดานกายภาพตามหนวยแผนที่ดินทีอยูใน
                  ขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) สมโอนครชัยศรีตามประกาศของกรมทรัพยสินทาง

                  ปญญา ไดแก อำเภอนครชัยศรี อำเภอสามพราน อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม สามารถจัดชัน
                                                                                                      ้
                  ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับปลูกสมโอนครชัยศรีไดดังนี้ (ตารางภาคผนวก ก - 1 (1) และรูปท 3 - 29)
                                                                                                ่
                                                                                                ี
                                                               ้
                                1.1) ชั้นความเหมาะสมสูง (S1) มีเนือที่ 44,699 ไร หรือรอยละ 212.64 ของเนื้อท ่ ี
                                                                                             
                                                                                     ี
                                                                                     ่
                  ความเหมาะสมที่อยูในขอบเขตพื้นที่ตามประกาศฯ ประกอบดวย 5 หนวยแผนทดิน ไดแก หนวยแผน
                   ่
                  ทีดิน Bk-cAIM2  Bl-cAIM2  Bl-cAM2  Bn-cAI/rbM2  Bn-cAM2/rb
                                1.2) ชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 73,769 ไร หรือรอยละ 35.71 ของ
                                                                                                
                                                                                        ่
                                                                         
                  เนื้อที่ความเหมาะสมที่อยูในขอบเขตพื้นที่ตามประกาศฯ ประกอบดวย 7 หนวยแผนทีดิน ไดแก
                                              ่
                                              ี
                                    หนวยแผนทดิน Ay-cAIM2 มีขอจำกัด คือ ความเปนประโยชนของธาตุอาหาร (s)
                                               ่
                                    หนวยแผนทดิน Ks-mw-siclAI มีขอจำกัด คือ ความเปนประโยชนของออกซิเจน
                                               ี
                  ตอรากพืช (o) และความเปนประโยชนของธาตุอาหาร (s)


                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109