Page 109 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 109

3-59






                                1.3) ชั้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,156 ไร หรือรอยละ 1.43 ของเนื้อทความเหมาะสม
                                                                                           ี่
                                                                      ี
                                                                             
                                   ี่
                                                       
                                                                      ่
                  ที่อยูในขอบเขตพื้นทตามประกาศฯ ประกอบดวย 2 หนวยแผนทดิน ไดแก Bk-sicAI/ssub  และTc-cAI
                                                                   ่
                              จากขอมูลการจัดชันความเหมาะสมของทีดินสำหรับปลูกสมโอขาวใหญสมุทรสงคราม
                                                ้
                  ในขอบเขตพื้นทตามประกาศของกรมทรัพยสินทางปญญา สรุปไดวา พื้นที่ดังกลาวมีความเหมาะสมสูง
                               ่
                               ี
                  (S1) สำหรับการการผลิตสมโอขาวใหญสมุทรสงคราม เนื่องจากลักษณะที่ตั้งทางภูมิศาสตรที่เปนพื้นท ี ่
                  ราบลุมปากแมน้ำแมกลองมีการทับถมกันของตะกอนแมน้ำที่มีธาตุอาหารสูง โดยเฉพาะอยางยิ่งธาต ุ
                  โพแทสเซียม สงผลใหดินมีความอุดมสมบูรณสูง นอกจากนี้ดินในพื้นที่ยังเปนดินลึกมากกวา 150
                                                                                                      ื
                                                                                    ้
                                                                                  ี
                                                               ่
                  เซนติเมตร มีการระบายน้ำดี เนื่องจากมีการยกรองเพือชวยใหการระบายน้ำดขึน และยังชวยใหรากพช
                  สามารถเจริญไดดี อยางไรก็ตามถึงแมวาในพื้นที่จะมีปริมาณฝนอยูในระดับชั้นเหมาะสมเล็กนอย คือ
                  ปริมาณน้ำฝนในพื้นที่อยูในชวง 1,100 - 1,200 มิลลิเมตรตอป แตเนื่องจากวาในพื้นที่จังหวัด
                  สมุทรสงครามมีแมน้ำแมกลองเปนแหลงน้ำสายหลักไหลผาน และมีคลองสำคัญ เชน คลองอัมพวา
                  คลองลำปะโดง ทำใหมีน้ำจากแหลงน้ำธรรมชาติเพียงพอสำหรับใชในการผลิตลิ้นจี่ จึงไมถือวาปริมาณ
                  น้ำฝนเปนขอกำจัดในการผลิตสมโอขาวใหญสมุทรสงคราม อีกทั้งเกษตรกรยังมีประสบการณและองค 
                  ความรูในดานการบริหารจัดการน้ำภายในแปลง เชน เกษตรกรทราบวาชวงเวลาใดทควรมการเกบน้ำไว
                                                                                       ี่
                                                                                                 ็
                                                                                            ี
                  ในแปลง หรือชวงใดที่น้ำมีความเค็มไมสามารถนำมาใชในแปลงได เปนตน จึงสงผลใหการผลิตสมโอ
                  ขาวใหญสมุทรสงครามในพื้นที่ยังคงรักษาทั้งปริมาณและคณภาพที่ดีอยู สวนบางหนวยแผนที่ดินทจัดอยู
                                                                  ุ
                                                                                                  ี่
                  ในชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2) ที่มีขอจำกัดดานสมบัติดินบางประการ ไดแก ระดับความอุดม
                  สมบูรณของดินอยูในระดับปานกลาง กรณีนี้เกษตรกรสามารถแกไขปรับปรุงใหดินมีความอุดมสมบูรณ 
                                                                        
                  สูงขึ้นไดดวยการใสอินทรียวัตถุ ปุยคอก หรือปุยหมักอยางสม่ำเสมอ ปรับคา pH ใหเหมาะสม เพื่อให
                  ธาตุอาหารเปนประโยชนสำหรับพืชมากขึ้น นอกจากนี้สำหรับหนวยแผนที่ดินที่จัดอยูในชั้นที่ไม 

                                               ี
                  เหมาะสม (N) ซึ่งเปนดินในที่ลุมทยังไมไดมีการปรับรูปแปลงใหมีการระบายน้ำดีขึ้น หากเกษตรกรม ี
                                               ่
                                                                                                      ้
                                                                                     ิ
                                                                                                      ึ
                  ความตองการปลูกสมโอขาวใหญสมุทรสงครามใหเตรียมพื้นที่ดวยการยกรองใหดนมีการระบายน้ำดขน
                                                                                                     ี
                                           
                  รวมกับการปรับปรุงบำรุงดินกอนปลูกก็จะทำใหพนทนั้นมีความเหมาะสมสำหรับการผลิตสมโอขาวใหญ
                                                           ื้
                                                             ี่
                                                                                           ึ
                                                                                                  ี
                  สมทรสงคราม ยกเวนหนวยแผนทดิน Tc-cAI ซึ่งเปนดินเคมจัด สภาพพื้นที่น้ำทะเลทวมถง และมระดับ
                                                                  ็
                     ุ
                                              ี่
                  น้ำใตดินสูงตลอดป จึงไมมีความเหมาะสมตอการทำการเกษตร
                             5)  มะพราวน้ำหอมบานแพว
                              มะพราวเจริญเติบโตและใหผลผลิตที่มีคุณภาพดีในดินที่มีความอุดมสมบูรณสูง
                                                                                                 ุ
                  โครงสรางดินโปรง รวนซุย ไมแนนทึบ มีการระบายน้ำดี ดินมีคา pH ดินอยูระหวาง 5.6 – 7.3 อณหภูม ิ
                  ที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตอยูในชวง 25 - 30 องศาเซลเซียส มีความตองการน้ำสม่ำเสมอ โดย
                  ปริมาณน้ำฝนที่เหมาะสมอยูในชวง 1,800 - 3,000 มิลลิเมตรตอป จากปจจัยเหลานี้ เมื่อพิจารณา
                                                                    ่
                  รวมกับคุณภาพที่ดินทางดานกายภาพตามหนวยแผนที่ดินทีอยูในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชสิ่งบงชี้ทาง
                  ภูมิศาสตร (GI) มะพราวน้ำหอมบานแพวตามประกาศของกรมทรัพยสินทางปญญา ไดแก อำเภอบาน
                                 ุ
                  แพว อำเภอกระทมแบน อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร สามารถจัดชั้นความเหมาะสมของทดินสำหรับ
                                                                                              ี่
                  ปลูกมะพราวน้ำหอมบานแพว มีรายละเอียด ดังนี้ (ตารางภาคผนวก ก - 1 (5) และรูปท 3 - 33)
                                                                                          ่
                                                                                          ี






                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114