Page 111 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 111

3-61






                  และอำเภอกระทุมแบน จังหวัดสมุทรสาคร สามารถจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดินสำหรับปลูกลำไยพวง

                                      ี
                                                                            ่
                               ี
                            
                  ทองบานแพว มรายละเอยด ดังนี้ (ตารางภาคผนวก ก - 1 (6) และรูปที 3 - 34)
                                1.1) ชั้นความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 125,978 ไร หรือรอยละ 89.33 ของเนื้อท ่ ี
                                                                                      ี
                                                                                      ่
                                   
                                             ้
                  ความเหมาะสมที่อยูในขอบเขตพืนที่ตามประกาศฯ ประกอบดวย 10 หนวยแผนทดิน ไดแก หนวยแผน
                                                                                              
                  ทีดิน Bk-cAIM2  Bk-cAM2  Bl-cAIM2  Dn-cAI  Sso-cA  Sso-cAI  Sso-sicA  Sso-sicAI  Tb-cA
                   ่
                  และTb-cAI
                                1.2) ชั้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 15,051 ไร หรือรอยละ 10.67 ของเนื้อที่ความ
                  เหมาะสมที่อยูในขอบเขตพื้นที่ตามประกาศฯ ประกอบดวย 5 หนวยแผนทดิน ไดแก Bk-cA  Bk-cAI
                                                                                          
                                                                                  ี
                                                                                  ่
                  Bk-cAIM4  Bl-cAI  และTc-cA
                                                                                                      
                              จากขอมูลการจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดินสำหรับปลูกลำไยพวงทองบานแพว
                               ี
                               ่
                  ในขอบเขตพื้นทตามประกาศของกรมทรัพยสินทางปญญา สรุปไดวา พื้นที่ดังกลาวมีความเหมาะสมสูง
                  (S1) สำหรับการการผลิตลำไยพวงทองบานแพว เนื่องจากลักษณะทตั้งทางภูมศาสตรทเปนพนทราบลุม
                                                                                              ื้
                                                                          ี่
                                                                                         ี่
                                                                                                 ี่
                                                                                  ิ
                                                            ี่
                  ปากแมน้ำทาจีน มีการทับถมกันของตะกอนแมน้ำทมีธาตุอาหารสูง โดยเฉพาะอยางยิ่งธาตุโพแทสเซยม
                                                                                                     ี
                  สงผลใหดินมีความอุดมสมบูรณสูง นอกจากนี้ดินในพื้นที่ยังเปนดินลึกมากกวา 150 เซนติเมตร มีการ
                  ระบายน้ำดี เนื่องจากมีการยกรองเพื่อชวยใหการระบายน้ำดีขึ้น และยังชวยใหรากพืชสามารถเจริญไดดี
                  อยางไรก็ตามถึงแมวาในพื้นที่จะมีปริมาณฝนอยูในระดับชั้นเหมาะสมปานกลาง คือ ปริมาณน้ำฝนใน
                  พื้นที่อยูในชวง 1,100 - 1,200 มิลลิเมตรตอป แตเนื่องจากวาในพื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร มีแมน้ำทาจีน
                  เปนแหลงน้ำสายหลักไหลผาน และมีคลองไหลผาน ทำใหมีน้ำจากแหลงน้ำธรรมชาติเพียงพอสำหรับใช
                  ในการผลิตลำไย อีกทั้งเกษตรกรยังมีประสบการณและองคความรูในดานการบริหารจัดการน้ำภายใน
                  แปลง เชน เกษตรกรทราบวาชวงเวลาใดที่ควรมีการเก็บน้ำไวในแปลง หรือชวงใดที่น้ำมีความเค็มไม 
                                                                                     ่
                                                                        ิ
                                                                                            ั
                                                                                 ี
                                                                  ุ
                                                                                        
                  สามารถนำมาใชในแปลงได เปนตน นอกจากนี้ปจจัยดานอณหภูมยังถือเปนอกหนึงขอจำกดในการผลิต
                                                               
                  ซึ่งในพื้นที่มีอุณหภูมิเฉลี่ย เทากับ 28.6 องศาเซลเซียส จัดอยูในชั้นความเหมาะสมปานกลาง โดย
                  อุณหภูมิจะมีผลโดยตรงตอการติดดอกออกผลของลำไย แตในปจจุบัน พบวา การผลผลิตลำไยในพื้นท ่ ี
                  สวนใหญเปนการผลิตลำไยนอกฤดู โดยใชสารโพแทสเซียมคลอเรตบังคับใหตนลำไยออกดอกและให
                  ผลผลิตในชวงที่เกษตรกรตองการได ดังนั้นจึงไมถือวาปริมาณน้ำฝน และอุณหภูมิสูง เปนขอกำจัดในการ
                                                                                                     ี่
                                                                                                ี่
                                                                  ี่
                  ผลิตลำไย สงผลใหการผลิตลำไยพวงทองบานแพวในพื้นทยังคงมคณภาพดี สำหรับหนวยแผนทดินทจัด
                                                                        ุ
                                                                       ี
                  อยูในชั้นทีไมเหมาะสม (N) สวนใหญเปนดินในทีลุมที่ยังไมไดมีการปรับรูปแปลงใหมการระบายน้ำดขน
                                                                                                     ี
                                                                                                      ึ
                                                                                                      ้
                                                                                        ี
                                                          ่
                           ่
                  หากเกษตรกรมีความตองการปลูกมะพราวน้ำหอมบานแพวใหเตรียมพื้นที่ดวยการยกรองใหดินมีการ
                  ระบายน้ำดีขึ้น รวมกับการปรับปรุงบำรุงดินกอนปลูกก็จะทำใหพื้นที่นั้นมีความเหมาะสมสำหรับการ
                  ผลิตมะพราวน้ำหอมบานแพวยกเวนหนวยแผนที่ดิน Tc-cA ซึ่งเปนดินเค็มจัด สภาพพื้นที่น้ำทะเลทวม
                                                                                                      ิ
                  ถึง และมีระดับน้ำใตดินสูงตลอดป จึงไมมีความเหมาะสมตอการทำการเกษตร ควรใชประโยชนที่ดน
                  ดานอื่น ๆ เชน ทำนาเกลือ หรือเลี้ยงปลา กุง









                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116