Page 105 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 105

3-55






                                               ี
                                               ่
                                    หนวยแผนทดิน Ay-rb-cAI  Dn-cA  Dn-cAI  และTb-cA  Tb-cAI มีขอจำกัด คือ
                  ความเปนประโยชนของธาตุอาหาร (s) และความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (n)
                                1.3) ชั้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 88,094 ไร หรือรอยละ 42.65 ของเนื้อที่ความ
                                                                                ่
                                                                                ี
                                                                                        
                  เหมาะสมที่อยูในขอบเขตพื้นที่ตามประกาศฯ ประกอบดวย 11 หนวยแผนทดิน ไดแก Ay-cA-Ay-rb-cAI
                  Ay-cAI   Bk-cA   Bk-cAI   Bk-cAIM4   Bk-cA-Tb-cAI   Bl-cA   Bl-cAI  Bn-cA/rb    Bn-cAI/rb
                  และKs-mw-siclAIM3
                                จากขอมูลการจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดินสำหรับปลูกสมโอนครชัยศรีในขอบเขต
                      ี่
                  พื้นทตามประกาศของกรมทรัพยสินทางปญญา สรุปไดวา พื้นที่ดังกลาวมีความเหมาะสมสูง (S1) สำหรับ
                                                                 ่
                  การการผลิตสมโอนครชัยศรี เนื่องจากมีสภาพแวดลอมทีมีความเหมาะสมตอการเจริญเติบโตและใหผล
                  ผลิต  คือ มีอุณภูมิเฉลี่ยทั้งป เทากับ 27.9 องศาเซลเซียส ดินมีความอุดมสมบูรณสูง ดินลึกมากกวา 150
                                                                                                      ื
                                                               ่
                                                                                    ้
                  เซนติเมตร มีการระบายน้ำดี เนื่องจากมีการยกรองเพือชวยใหการระบายน้ำดขึน และยังชวยใหรากพช
                                                                                  ี
                  สามารถเจริญไดดี อยางไรก็ตามถึงแมวาในพื้นที่จะมีปริมาณฝนอยูในระดับชั้นที่ไมเหมาะสม คือ
                                                                              ้
                  ปริมาณน้ำฝนในพื้นที่นอยกวา 1,100 มิลลิเมตรตอป แตเนื่องจากวาในพืนท่จังหวัดนครปฐมมีแมน้ำทา
                                                                                 ี
                                                                                                      
                  จีน (แมน้ำนครชัยศรี) เปนแหลงน้ำสายหลักไหลผาน และมีคลองอีกหลายสาย ทำใหมีน้ำจากแหลงน้ำ
                  ธรรมชาติเพียงพอสำหรับใชในการผลิตสมโอ สงผลใหการผลิตสมโอนครชัยศรีในพื้นที่ยังคงรักษาทง ั ้
                  ปริมาณและคุณภาพที่ดีอยู จึงไมถือวาปริมาณน้ำฝนเปนขอกำจัดในการผลิตสมโอนครชัยศรี สวนบาง
                  หนวยแผนที่ดินที่จัดอยูในชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2) ที่มีขอจำกัดดานสมบัติดินบางประการ
                                           
                                                                                                      ื
                  ไดแก ระดับความอุดมสมบูรณของดิน ความสามารถในการดูดยึดและปลดปลอยใหเปนประโยชนตอพช
                                        
                                                       ี
                  กรณีนี้เกษตรกรสามารถแกไขปรับปรุงใหดินมความอุดมสมบูรณสูงขึ้นไดดวยการใสอินทรียวัตถุ ปุยคอก
                  หรือปุยหมักอยางสม่ำเสมอ ปรับคา pH ใหเหมาะสม เพื่อใหธาตุอาหารเปนประโยชนสำหรับพชมากขน
                                                                                                ื
                                                                                                      ึ้
                  นอกจากนี้สำหรับหนวยแผนที่ดินที่จัดอยูในชั้นที่ไมเหมาะสม (N) สวนใหญเปนดินในที่ลุมที่ยังไมไดม ี
                  การปรับรูปแปลงใหมีการระบายน้ำดีขึ้น หากเกษตรกรมีความตองการปลูกสมโอนครชัยศรีใหเตรียม
                                                                                         ็
                                                                                 
                                                                                                  ื้
                                                                                                    ี่
                   ้
                                         ี
                                                       ึ้
                  พืนที่ดวยการยกรองใหดินมการระบายน้ำดีขน รวมกับการปรับปรุงบำรุงดินกอนปลูกกจะทำใหพนทนั้น
                  มีความเหมาะสมสำหรับการผลิตสมโอนครชัยศรีได
                             2)  พริกบางชาง
                                                                                                      
                              พริกเปนพืชที่สามารถเจริญเติบโตไดดีในสภาพอากาศรอนชืน อุณหภูมิที่เหมาะสมตอ
                                                                                  ้
                  การเจริญเติบโตอยูในชวง 20 - 30 องศาเซลเซียส หากอุณหภูมิที่สูงกวา 33 องศาเซลเซียส จะทำให
                  ดอกรวง หรือถาอุณหภูมปรับเปลี่ยนอยางรวดเร็วจนสูงกวา 35 องศาเซลเซียส โดยเฉพาะอยางยิ่งในฤดู
                                      ิ
                  รอน อาจทำใหผลออนรวงได ลักษณะดินปลูกควรเปนดินรวนปนทรายความอุดมสมบูรณสูง มีการ
                  ระบายน้ำดี คา pH ดินอยูระหวาง 6.0 - 6.5 นอกจากนียังตองการน้ำในปริมาณทพอเหมาะ ไมมากหรือ
                                                                ้
                                                                                     ี่
                  นอยจนเกินไป โดยปริมาณน้ำฝนที่เหมาะสมอยูในชวง 500 - 850 มิลลิเมตรตอป และตกกระจาย
                  สม่ำเสมอ หากมีฝนตกมากในฤดูฝนจนน้ำขังในแปลง อาจจะทำใหพริกเสียหายได หรือในฤดูแลงหาก
                                                                                       
                                                                                                     
                  เกิดการขาดน้ำจะสงผลใหดอกรวงเชนกัน จากปจจัยเหลานี้ เมื่อพิจารณารวมกับคุณภาพที่ดินทางดาน
                                            ่
                  กายภาพตามหนวยแผนที่ดินทีอยูในขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) พริกบางชาง
                  ตามประกาศของกรมทรัพยสินทางปญญา ไดแก อำเภออัมพวา อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม








                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110