Page 41 - Plan GI
P. 41

2-25






                                         (1.3) การเก็บเกี่ยวผลผลิต

                                              โดยปกติหอมแดงที่ปลูกในฤดูหนาว จะแกจัดเมื่ออายุ 70 - 110 วัน
                  ถาปลูกในฤดูฝนจะสามารถเก็บไดเมื่ออายุประมาณ 45 วัน แตผลผลิตของหอมแดงทั้ง 2 ฤดูแตกตางกัน
                  คือ ในฤดูหนาวจะใหผลผลิตมากเปน 2 - 3 เทาของในฤดูฝน จึงเปนเหตุใหหอมแดงในฤดูฝนมีราคาสูงกวา

                  หอมแดงที่เริ่มแกแลวจะสามารถสังเกตไดจากสีของใบจะเขียวจางลง ปลายใบเริ่มเหลือง และใบมักจะ
                  ถางออกเอนลมลงมากขึ้น ถาบีบสวนคอ คือ บริเวณโคนใบตอกับหัวหอมจะออนนิ่ม ไมแนนแข็ง แสดงวา
                  หอมแกแลว
                                    (2)  การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว

                                         (2.1) การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว
                                              การเก็บเกี่ยว มีวิธีการทำคลายกับการเก็บเกี่ยวกระเทียม คือ หอมแดง
                  ที่ทำการถอนเรียบรอยแลวตองนำมาตากลมในที่รม โดยใหใบที่แหงหรือเหี่ยวนั้นเปนตัวมัดใหเปนจุก จากนั้น
                  ก็ทำการคัดขนาด และทำความสะอาด คัดพันธุ แลวนำไปแขวนไวในที่รมใหเรียบรอย ทั้งนี้ที่ทำการตากไว

                  ก็เพื่อใหความชื้นในตัวหอมแดงนั้นมีการระบายออกทั้งหมด แตไมควรตากใหโดนแดดหรือฝน และน้ำคาง
                  อยางเด็ดขาด แตถานำไปเก็บไวในที่อบอาวก็มีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคราดำไดเชนกัน ซึ่งจะทำให
                  หอมแดงนั้นเนาและเสียหายไดเชนเดียวกับกระเทียม นอกจากนี้ยังมีการเก็บหอมแดงไวสำหรับ
                  ทำพันธุในครั้งตอ ๆ ไปอีกดวย เพราะวาหอมแดงถาทำการเก็บไวนาน ๆ จะทำใหเกิดการฝอเกิดขึ้น

                  ทำใหแหงและเสียหายได ดังนั้นควรคัดเลือกไวประมาณ 35 - 40 เปอรเซ็นต ของหอมแดงที่เก็บทั้งหมด
                  มาคัดเลือกเพื่อไวใชทำพันธุ โดยนำหอมแดงที่จะใชทำพันธุนั้นแยกออกจากสวนที่จะใชหรือสงขาย
                  และฉีดพนยากันราใหทั่ว จากนั้นนำไปผึ่งลมใหแหงสนิทจะชวยใหหอมนั้นไมเนาเสียได จึงเปนวิธี
                  ที่เหมาะสำหรับหอมแดงที่จะทำการเพาะพันธุตอ

                                         (2.2) การบรรจุหีบหอ รายละเอียดบนฉลาก ใหประกอบคำวา “หอมแดง
                  ศรีสะเกษ” หรือ “Hom Dang Sisaket” หรือ “Sisaket Shallot” การระบุชื่อผูผลิตหรือผูจำหนาย มีชื่อที่ตั้ง
                  ของสถานที่ผลิตและจำหนาย ปริมาณน้ำหนักบรรจุเปนกรัมหรือกิโลกรัม
                                         (2.3) การเก็บหอมแดงไวทำพันธุ หอมแดงที่แกจัดหากเก็บรักษาดีจะฝอ

                  แหงเสียหายเพียง 35 - 40 เปอรเซ็นต ควรคัดเลือกหอมแดงที่จะใชทำพันธุแยกออกมาตางหาก
                  จากสวนที่จะขาย และฉีดพนยากันรา เชน เบนเลทใหทั่ว และนำไปผึ่งลมจนแหงสนิทจึงนำไปเก็บรักษา
                  ไวทำพันธุ (ไมควรนำมารับประทาน) จะชวยปองกันไมใหหอมแดงเนาเสียหายงาย

                             2.3.3.4 สับปะรดทาอุเทน
                                    (1)  การจัดการในระบบการเพาะปลูก
                                         (1.1) การเตรียมดินและการปลูก สับปะรดขยายพันธุโดยใชสวนตาง ๆ
                  ของลำตน เชน จุก หนอ และตะเกียง วัสดุปลูกตาง ๆ เหลานี้จะถูกเก็บเกี่ยวและวางคว่ำไวบนตนแม
                  เพื่อใหรอยแผลที่แยกออกมาจากตนแมแหงดีเสียกอนเมื่อเตรียมพื้นที่ปลูกใหมเสร็จแลวจึงไปเก็บ

                  รวบรวมมาอีกครั้งหนึ่ง โดยใหอายุหนอพันธุหรือจุก สามารถเก็บเกี่ยวไดพรอมกันทั้งแปลงปลูกแถวคู
                  จำนวน 4,000 หนอตอไร เวลาตั้งแตการเริ่มตนปลูกครั้งแรกจนถึงเก็บเกี่ยวผลของหนอรุนสุดทาย
                  และเตรียมการปลูกครั้งตอไปในพื้นที่เดิมเรียกวารอบการปลูก (crop cycle) ซึ่งแตละรอบการปลูก

                  จะมีชวงเวลา 3 - 4 ป รอบการปลูก 4 ปจะประกอบไปดวยสับปะรดรุนแรกและการไวหนอ 1 ครั้ง ซึ่งเวลาจริง





                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย          กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46