Page 45 - Plan GI
P. 45

2-29






                                         (2.2) การเก็บรักษาผลผลิต

                                              การเก็บรักษาผลผลิตเพื่อรักษาคุณภาพควรเก็บไวที่อุณหภูมิ ไมเกิน
                  20 องศาเซลเซียส การบรรจุหีบหอและภาชนะที่ใชบรรจุ ควรคัดเลือกผลที่สมบูรณ และมีคุณภาพตาม
                  ความตองการของตลาด บรรจุใหเต็มพอดี ไมแนนไมหลวมเกินไป และไมควรบรรจุผลเลยเหนือภาชนะ

                  ที่ใชบรรจุ เพราะเวลาปดฝาจะทําใหลิ้นจี่ดานบนไดรับความเสียหาย เนื่องจากแรงกดโดยตรง เมื่อวางภาชนะ
                  บรรจุซอนกัน และยังกอใหเกิดปญหาในการวางภาชนะเรียงซอนกัน ทําใหภาชนะบรรจุเคลื่อนที่
                  และสั่นสะเทือนตลอดเวลาขณะที่ยานพาหนะเคลื่อนที่ กอใหเกิดความเสียหายกับลิ้นจี่ที่บรรจุขางในภาชนะ
                  บรรจุหีบหอ ภาชนะที่ใชในการบรรจุหีบหอลิ้นจี่เพื่อจําหนายมีหลายชนิด คือ เขง ตะกราพลาสติก

                  และกลองกระดาษ ถาพิจารณาถึงความเหมาะสมความสะดวกตอการบรรจุขนยายขนสง ดูสวยงาม
                  เปนระเบียบ และเปนที่ยอมรับกันมาก ควรเลือกใชกลองกระดาษหรือตะกราพลาสติก
                                         (2.3) รายละเอียดการบรรจุหีบหอบนฉลากใหประกอบคำวา “ลิ้นจี่
                  นครพนม” หรือ “Nakkhonphanom Lychee” หรือ “Lychee Nakkhonphanom” การใชตรา

                  สัญลักษณสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรไทย ใหใชสำหรับผลผลิตลิ้นจี่นครพนมที่จำหนายในชวงเดือนมีนาคมถึง
                  เดือนเมษายน
                             2.3.3.6 ขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย
                                    (1)  การจัดการในระบบการเพาะปลูก

                                         (1.1) การเตรียมดินและการปลูก ขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย
                  ตองปลูกในพื้นที่ 7 อำเภอ ของจังหวัดบุรีรัมยเทานั้น เมล็ดพันธุขาวตองเปนพันธุขาวดอกมะลิ 105
                  หรือ กข15 จากแหลงผลิตเมล็ดพันธุที่ไดรับการรับรองจากกรมการขาว กรณีเกษตรกรขยายพันธุเอง
                  ตองนำพันธุที่ผานการรับรองมาขยายและมีรอบการใชเลือกพันธุจากแหลงเมล็ดพันธุไมเกิน 3 ป มีการปลูก

                  ชวงเดือนเมษายนถึงเดือนสิงหาคม
                                              การเตรียมดิน นาหวานขาวแหง ในสภาพดินรวนปนทราย และ
                  ดินทราย ปนดินรวนที่ทุงกุลารองไหจะเตรียมดิน โดยการไถพรวนแลวหวานเมล็ดขาว ในอัตรา
                  10 กิโลกรัมตอไร จากนั้นคราดกลบและโปรยฟางคลุม 1,000 กิโลกรัมตอไร จะทำใหผลผลิตเฉลี่ยที่ได

                  สูงถึง 500 กิโลกรัมตอไร
                                         (1.2) การใหน้ำและการดูแลรักษา
                                              การใหน้ำ เนื่องจากการปลูกขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย จะปลูก

                  ในฤดูฝนเนื่องจากเปนขาวนาป มีการใชน้ำฝนเปนหลัก
                                              การดูแลรักษา ใชปุยอินทรียรองพื้นกอนใหใสกอนไถพรวน โดยใสปุยคอก
                  หรือปุยหมัก ในอัตรา 40 - 50 กิโลกรัมตอไร การใสปุยครั้งที่ 1 สำหรับนาหวานขาวแหง ตองใสในชวงที่
                  ขาวเริ่มแตกกอ (ตนเดือนสิงหาคม) โดยใชปุยสูตร 16 – 16 - 8 ในอัตรา 20 - 25 กิโลกรัมตอไร สำหรับ
                  นาดินทราย การใสปุยครั้งที่ 2 ใสปุยกอนขาวออกดอก ประมาณ 30 วัน (ประมาณปลายเดือนกันยายน

                  ของทุกป) โดยใชปุยสูตร 46 – 0 - 0 ในอัตรา 5 - 10 กิโลกรัมตอไร โดยทุกครั้งที่ใสปุย จะตองมีน้ำขัง
                  ในแปลงนา ประมาณ 3 - 8 เซนติเมตร เพื่อใหขาวสามารถใชปุยไดอยางมีประสิทธิภาพ









                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย          กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50