Page 46 - Plan GI
P. 46

2-30





                                         (1.3) การเก็บเกี่ยวผลผลิต

                                              เก็บเกี่ยวในระยะเวลาที่เหมาะสม คือ ระยะที่ขาวออกดอกแลว
                  ประมาณ 30 - 35 วัน โดยรวงจะโนมลง เมล็ดในรวงมีสีฟางหรือเหลือง โคนรวงมีเมล็ดเขียวบางเล็กนอย
                  ซึ่งเรียกวา ระยะพลับพลึง (เดือนตุลาคมถึงเดือนพฤศจิกายน) เปนระยะที่เมล็ดขาวสุกแกพอเหมาะ

                  ทำใหไดนํ้าหนักเมล็ดสูง เปอรเซ็นตขาวเต็มเมล็ด ปริมาณมาก และมีคุณภาพการสีดี
                                              วิธีการเก็บเกี่ยว กอนถึงระยะเก็บเกี่ยว 10 วัน ควรระบายนํ้าออก
                  จากแปลงนาเพื่อใหขาวสุกแกพรอมกัน สวนวิธีการเก็บเกี่ยวนั้นสามารถทําไดทั้งการเกี่ยวดวยมือ และใช
                  เครื่องมือเก็บเกี่ยวซึ่งจะใหขาวที่มีคุณภาพไมแตกตางกัน แตถามีการปรับเครื่องจักรไมเหมาะสมกับ

                  การทํางานอาจจะทําใหเกี่ยวไมไดขาวรวงหลนหรือเมล็ดแตกหักได
                                    (2)  การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว
                                         (2.1) การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว
                                              หลังการเก็บเกี่ยว การนวดผลผลิตขาว และทำความสะอาดโดย

                  การฝดแลว ยังไมสามารถเก็บรักษาเมล็ดขาวที่มีความชื้นสูงไวในโรงเก็บได เพราะเมล็ดมีการหายใจทำใหเกิด
                  ความรอน จะทำใหเกิดเชื้อราเขาทำลาย ควรลดความชื้นในเมล็ดกอนเก็บ โดยตากเมล็ดขาวบนลานที่ทำ
                  ความสะอาดแลว ไมควรตากบนพื้นซีเมนตหรือพื้นถนนโดยตรง เพราะเมล็ดอาจไดรับความรอนสูงเกินไป
                  ควรปูพื้นดวยผาใบหรือเสื่อสานดวยไมไผ ความหนาของกองที่ตาก ประมาณ 5 - 10 เซนติเมตร ไมควรหนา

                  หรือบางเกินไป ควรมีวัสดุคลุมกองขาวเพื่อปองกันน้ำคางหรือฝน ระยะเวลาการตากขาวประมาณ 2 - 3 แดด
                  ไมควรตากนานเกินไป การลดความชื้นโดยใชเครื่องจักร ตองมีความรูความเขาใจการใชเครื่องจักร
                  เปนอยางดี วัตถุประสงคของการลดความชื้นเมล็ดเพื่อเก็บเปนเมล็ดพันธุตองมีความระมัดระวังไมให
                  อุณหภูมิของเครื่องลดความชื้นจนมีผลตอความงอกของเมล็ด ควรคำนึงถึงคาใชจายในการปฏิบัติจะคุม

                  หรือไมซึ่งความชื้นของขาวเปลือกที่เก็บทั่วไป ความชื้นไมควรสูงเกิน 14 เปอรเซ็นต
                                              การแปรรูปผลผลิตขาวเปลือก แปรรูปเปนขาวกลองและขาวสาร
                  โดยโรงสีที่ตั้งอยูในจังหวัดบุรีรัมยหรือโรงสีที่ไดรับการรับรองจากคณะกรรมการตรวจรับรองการแปรสภาพ
                  การแปรูปตองมีการบริหารจัดการดังนี้

                                                 - ขาวเปลือกตองมาจากเกษตรกรที่ไดรับการขึ้นทะเบียนเปนสมาชิก
                  ผูผลิตขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย และไดรับการรับรองวาไดปฏิบัติตามคูมือปฏิบัติงาน
                                                 - การผลิต การรับ/การจาย ขาวเปลือก ขาวสาร แตละครั้งมีการ

                  บันทึกขอมูลที่มาของขาวเปลือก ปริมาณขาวเปลือกที่นำมาผลิตเปนขาวสาร ปริมาณขาวสารที่ไดรับ
                  ปริมาณขาวสารที่จายใหแกผูใด ปริมาณคงเหลือ
                                                 - ขาวเปลือกที่จะทำการแปรรูปตองมีความชื้นไมเกินรอยละ 14
                  หากมีความชื้นเกินกวาที่กำหนดจะตองทำการปรับลดความชื้นกอนการแปรรูป
                                                 - การเคลื่อนยาย การรักษาสภาพ การขนสง และบรรจุภัณฑ

                  รวมถึงพาหนะขนยายตองสะอาด สามารถปองกันการปนจากขาวพันธุอื่นได
                                         (2.2) การเก็บรักษาผลผลิต
                                              การเก็บรักษา เมล็ดขาวจะตองสะอาดปราศจากสิ่งเจือปน ไมเปนแหลง

                  เพาะเชื้อโรค และแมลงศัตรู เมล็ดแหง มีความชื้นไมเกิน 14 เปอรเซ็นต ยุงฉางจะตองสะอาด มีตาขาย





                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย          กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51