Page 36 - Plan GI
P. 36

2-20





                  5) ลิ้นจี่นครพนม


                                                                     เดือน/ป
                   กิจกรรม
                                         ม.ค  ก.พ  มี.ค  เม.ย  พ.ค  มิ.ย  ก.ค   ส.ค  ก.ย.  ต.ค.  พ.ย.  ธ.ค.
                   การปลูก
                   การใสปุย
                   การกำจัดวัชพืช
                   การปองกันกำจัดศัตรูพืช

                   การตัดแตงทรงพุม
                   การใหน้ำ

                   การหอผลลิ้นจี่
                   การเก็บเกี่ยวผลผลิต

                  6) ขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย

                                                                     เดือน/ป
                   กิจกรรม
                                         ม.ค  ก.พ  มี.ค  เม.ย  พ.ค  มิ.ย  ก.ค   ส.ค  ก.ย.  ต.ค.  พ.ย.  ธ.ค.
                   การปลูก (นาหวาน)
                   การปลูก (นาดำ)
                   การใสปุย
                   การกำจัดวัชพืช
                   การปองกันกำจัดศัตรูพืช
                   การเก็บเกี่ยวผลผลิต

                        2.3.3 การจัดการพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI)
                             2.3.3.1 ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ

                                    (1)  การจัดการในระบบการเพาะปลูก
                                         (1.1) การเตรียมดินและการปลูก ตนพันธุที่ปลูก ตองเปนตนพันธุที่มี
                  ความแข็งแรงสมบูรณ และปราศจากโรค การปลูกทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษสามารถปลูกไดตลอดป
                  แตที่เหมาะสมควรปลูกในชวงตนฤดูฝนเนื่องจากสภาพภูมิอากาศเหมาะสมกับการเจริญเติบโตของตนกลา
                  เตรียมดินโดยการขุดหลุมขนาด 1 x 1 เมตร และผสมดินที่ขุดมาผสมกับปุยอินทรีย กอนนำตนทุเรียนลงปลูก

                  ระยะการปลูกระหวางตนและระหวางแถว 8 - 10 เมตร โดยแถวปลูกยกดินเปนสันใหสูง 30 – 50 เซนติเมตร
                  ตรงกลางระหวางแถวเปนรองระบายน้ำ ควรปลูกในพื้นที่ความลาดเอียงไมเกิน 5 เปอรเซ็นต หรือ
                  ตามความเหมาะสมของพื้นที่

                                         (1.2) การใหน้ำและการดูแลรักษา การใหน้ำ มีระบบการใหน้ำโดยใชน้ำ
                  จากบอบาดาลเปนแบบระบบสปริงเกอร เมื่อดอกเริ่มบานใหน้ำเล็กนอยและเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนติดผล
                  จึงใหน้ำเต็มที่ การดูแลรักษา กวาดใบไมและเศษวัชพืชออกจากโคนตน เพื่อใหดินแหงเร็วขึ้นเปนการกระตุน
                  ตนทุเรียนออกดอกไดเร็วและสม่ำเสมอ









                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย          กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41