Page 38 - Plan GI
P. 38

2-22





                  สัดสวนของกาซที่แนนอนและคงที่ชวยควบคุมการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของผลิตผลไดดีขึ้น การลดอุณหภูมิ

                  (precooling) การลดอุณหภูมิของผลิตผลหลังการเก็บเกี่ยว เปนการทำใหอุณหภูมิของผลิตผลลดลง
                  หรือเย็นลง จนถึงอุณหภูมิขนสงและ/หรือเก็บรักษา กอนที่จะทำการขนสงหรือเก็บรักษาที่อุณหภูมิ
                  ที่ตองการ การลดอุณหภูมิของผลิตผลจึงชวยชะลอการเปลี่ยนแปลงทางสรีระ และการเสื่อมคุณภาพ

                  ของผลิตผล นอกจากนี้ยังชวยลดการสูญเสียความชื้น
                                         (2.3) การบรรจุหีบหอ รายละเอียดบนฉลาก/หีบหอ ใหประกอบดวยคำวา
                  “ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ” และ/หรือ “Lava Durian Sisaket” ใหระบุชื่อพันธุทุเรียน ชื่อสวนเกษตรกร
                  และที่อยูที่ติดตอได

                             2.3.3.2 กระเทียมศรีสะเกษ
                                    (1)  การจัดการในระบบการเพาะปลูก
                                         (1.1) การเตรียมดินและการปลูก
                                              การเตรียมดิน ดินที่เหมาะสมสําหรับการปลูกกระเทียม ควรเปนดินที่รวนซุย

                  ระบายน้ำไดดี ถาหากเปนกรดจัดจะทําใหกระเทียมไมเจริญเติบโต ควรใสปูนขาวกอนปลูกอยางนอย 15 วัน
                  เพื่อปรับดินใหเปนกรดออน ๆ (pH 5.5 - 6.8) กอนไถควรหวานปุยคอกกอนประมาณ 4 ตันตอไร
                  ถาเปนดินเหนียวควรไถบุกเบิกกอนพรวน ถาเปนดินรวนใชเฉพาะพรวนและยกแปลงเพื่อการใหน้ำและ
                  ระบายน้ำไดดี การเตรียมดินดีจะชวยใหกระเทียมลงหัวดีและควรเตรียมแปลงปลูกขนาดกวาง 1 - 2.5 เมตร

                  ความยาวตามพื้นที่ปลูกระยะหางระหวางแปลง (ทางเดินหรือรองน้ำ) ควรกวาง 50 เซนติเมตร
                                              การปลูก กระเทียมปลูกโดยใชกลีบซึ่งประกอบเปนหัว นิยมใชกลีบนอกปลูก
                  เนื่องจากกลีบนอกมีขนาดใหญจะใหกระเทียมที่มีหัวใหญและผลผลิตสูง การนํากระเทียมไปปลูกในฤดูฝน
                  จะทําใหกระเทียมงอกไมพรอมกันโตไมสม่ำเสมอกัน ขนาดของกลีบจะมีอิทธิพลหรือความสําคัญ

                  ตอการลงหัวของกระเทียม จากการศึกษาพบวาพันธุที่มีกลีบใหญถาหากใชกลีบขนาดกลางปลูกจะทําให
                  ผลผลิตสูง พันธุที่มีกลีบขนาดเล็ก ถาใชกลีบใหญที่สุดปลูกจะใหผลผลิตสูง ปกติกลีบที่มีน้ำหนัก 2 กรัม
                  จะใหผลผลิตสูง การปลูกอาจใหน้ำกอน และใชกลีบกระเทียมจิ้มลงไปโดยเอาสวนรากลงลึกประมาณ
                  2 ใน 3 สวนของกลีบ เปนแถวตามระยะปลูกที่กําหนด ในพื้นที่ 1 ไร ตองใชหัวพันธุ 100 กิโลกรัม หรือกลีบ

                  75 - 80 กิโลกรัม ปลูกโดยใชระยะปลูก 10 x 10 - 15 เซนติเมตร จะใหผลผลิตสูงที่สุด สําหรับกระเทียมจีน
                  ใชระยะปลูก 12 - 12 เซนติเมตร และหัวพันธุ 300 - 350 กิโลกรัมตอไร หลังปลูกจะใชฟางคลุมแปลง
                  เพื่อควบคุมวัชพืชที่จะมีขึ้นในระยะแรกเก็บความชื้น และลดความรอนเวลากลางวัน

                                         (1.2) การใหน้ำและการดูแลรักษา
                                               การใหน้ำ ควรใหน้ำกอนปลูก และหลังปลูกกระเทียมควรไดรับน้ำ
                  อยางเพียงพอ และสม่ำเสมอ ในชวงระหวางเจริญเติบโต 7 - 10 วันตอครั้ง สรุปแลวจะใหน้ำประมาณ
                  10 ครั้งตอฤดู ควรงดการใหน้ำเมื่อกระเทียมแกจัด กอนเก็บเกี่ยว 2 - 3 สัปดาห
                                               การคลุมดิน หลังปลูกกระเทียมควรคลุมดินดวยฟางขาวแหง เศษหญาแหง

                  หรือเศษวัสดุที่สามารถผุพังเนาเปอยอื่น ๆ ทั้งนี้เพื่อควบคุมวัชพืชที่จะมีขึ้นในระยะแรก รักษาความชื้นในดิน
                  ประหยัดในการใหน้ำและลดอุณหภูมิลงในเวลากลางวัน ทําใหกระเทียมสามารถเจริญเติบโตไดดี
                                               การใสปุย ปุยที่แนะนำใหใชสำหรับกระเทียม ควรมีสวนของ

                  ไนโตรเจนเทากับ 1 สวน ฟอสฟอรัส 1 สวน และโพแทสเซียม 2 สวน เชน ปุยสูตร 10 – 10 – 15 ,





                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย          กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43