Page 37 - Plan GI
P. 37

2-21






                                         (1.3) การเก็บเกี่ยวผลผลิตทุเรียน การตัดผลทุเรียน ควรตัดเหนือปลิง

                  ของกานผลดวยมีดคมและสะอาด และสงผลทุเรียนลงมาจากตน เพื่อใหคนที่รอรับอยูดานลาง ระวังอยาให
                  ผลตกกระทบพื้นวิธีที่นิยมใชในการเก็บเกี่ยว คือ การใชเชือกโรยหรือใชกระสอบปานตวัดรับผล
                  หามวางผลทุเรียนลงบนพื้นดินในสวนโดยตรง เพื่อเปนการปองกันเชื้อราที่เปนสาเหตุของโรคผลเนา

                  ติดไปกับผลทุเรียน และควรทำความสะอาด คัดคุณภาพ คัดขนาดกอนจำหนาย วิธีเก็บเกี่ยว สังเกตกานผล
                  สังเกตหนาม สังเกตรอยแยกระหวางพูผลทุเรียนที่แกจัด การชิมปลิงผลทุเรียนที่แกจัด เมื่อตัดขั้วผลหรือ
                  ปลิงออกจะพบน้ำใสซึ่งไมขนเหนียวเหมือนในทุเรียนออน และเมื่อใชลิ้นแตะชิมดูจะมีรสหวาน
                  การเคาะเปลือกหรือกรีดหนาม เมื่อเคาะเปลือกผลทุเรียนที่แกจัดจะมีเสียงดังหลวม ๆ เนื่องจาก

                  มีชองวางระหวางเปลือกและเนื้อภายในผล เสียงหนักหรือเบาแตกตางกันไปขึ้นอยูกับพันธุและอายุ
                  ของตนทุเรียน การนับอายุโดยนับอายุผลเปนจำนวนวันหลังดอกบาน เชน พันธุชะนี ใชเวลา 100 - 105 วัน
                  พันธุกระดุม ใชเวลา 90 - 100 วัน พันธุกานยาว ใชเวลา 120 - 135 วัน พันธุหมอนทอง ใชเวลา 140 - 150 วัน
                  เปนตน การนับวันหรืออายุของผลจะแตกตางกันเล็กนอยในแตละป และในแตละทองถิ่นขึ้นอยูกับสภาพ

                  ภูมิอากาศ เชน ถาปใดมีอุณหภูมิเฉลี่ยคอนขางสูง ผลทุเรียนจะแกเร็วกวาปที่มีอุณหภูมิเฉลี่ยต่ำกวา
                                    (2)  การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว
                                         (2.1) การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว คัดแยกผลที่มีตำหนิแยกไวตางหาก
                  ขนยายวางเรียงใหเปนระเบียบบนพื้นที่สะอาดเพื่อรอการขนสงไปยังโรงคัดบรรจุ การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว

                  ที่โรงคัดบรรจุ คัดเลือกผลผลิตที่ดอยคุณภาพดวยสายตา เชน ทุเรียนออน มีตำหนิ โรคและแมลง เปนตน
                  แยกไวตางหาก คัดขนาดและคัดคุณภาพตามมาตรฐานคุณภาพของทุเรียน ทำความสะอาดผลทุเรียน
                  ที่คัดคุณภาพแลว โดยใชแรงลมเปาเพื่อกำจัดเศษวัสดุและแมลงบางชนิดออกจากผิวผล จากนั้นจุมผลทุเรียน
                  ในสารละลายของสารเคมีเบนโนมิลผสมกับกรดฟอสฟอรัส เพื่อปองกันโรคผลเนา จุมผลทุเรียนใน

                  สารละลายเอทธิฟอน 1,000 - 2,000 พีพีเอ็ม หรือจุมเฉพาะสวนกานผลในสารละลายเอทธิฟอน
                  10,000 พีพีเอ็ม ในกรณีที่ตองขนสงทุเรียนทางอากาศ ซึ่งใชเวลาประมาณ 2 - 3 วัน กอนถึงผูบริโภค
                  เพื่อทำใหผลทุเรียนสุกเสมอกัน ผึ่งผลใหแหงบนแทนรองรับสินคา เมื่อผลทุเรียนแหงแลวจึงติดปายชื่อ
                  สินคาที่ขั้วผลทุเรียน แลวจึงบรรจุลงกลองกระดาษลูกฟูก ขนาดบรรจุ 10 กิโลกรัมตอกลอง แลวขนยายดวย

                  รถพวงสินคาหองเย็นไปยังทาเรือหรือทาอากาศยาน เพื่อจำหนายในตลาดตางประเทศหรือเก็บรักษา
                  ที่อุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ 85 – 90 เปอรเซ็นต เพื่อรอการขนสงไปจำหนาย
                  ยังตลาดตางประเทศตอไป

                                         (2.2) การเก็บรักษาผลผลิตทุเรียน อุณหภูมิและความชื้นเปนปจจัยสำคัญ
                  ในการยืดอายุการเก็บรักษาทุเรียนใหนานขึ้นในสภาพอุณหภูมิหองปกติ (28 – 30 องศาเซลเซียส)
                  ผลทุเรียนแกจะสุกภายใน 4 – 7 วัน การใชสารเคลือบผิว คุณสมบัติที่สำคัญของสารเคลือบผิว คือ
                  ชวยลดการสูญเสียน้ำจากผลิตผล ลดอัตราการหายใจ ชะลอการสุกของผลไมโดยลดการแลกเปลี่ยน
                  กาซออกซิเจนระหวางบรรยากาศกับตัวผลผลิตโดยทุเรียนมีคุณภาพการรับประทานที่ดี แตการใช

                  สารเคลือบผิว ความเขมขนสูงเกินไปอาจมีผลเสียทำใหทุเรียนสุกไมสม่ำเสมอหรืออาจไมสุกได การเก็บรักษา
                  ในสภาพควบคุมบรรยากาศ (Controlled atmosphere storage, CA) ในสภาพบรรยากาศที่มี
                  ออกซิเจนต่ำ (2 – 5 เปอรเซ็นต) และ/หรือมีคารบอนไดออกไซดสูง (3 – 10 เปอรเซ็นต) จะชวยชะลอ

                  การเปลี่ยนแปลงทางเคมีภายในผลไมเชนเดียวกับการใชสารเคลือบผิว แตการเก็บในสภาพที่มีการควบคุม





                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย          กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42