Page 39 - Plan GI
P. 39

2-23






                  13 – 13 - 21 เปนตน อัตราปริมาณ 50 - 100 กิโลกรัมตอไร ขึ้นอยูกับความอุดมสมบูรณของดิน โดยแบงใส

                  2 ครั้ง คือ ครั้งแรกใสเปนปุยรองพื้นตอนปลูก แลวพรวนกลบลงในดินปริมาณครึ่งหนึ่ง และใสครั้งที่ 2
                  ใสแบบหวานทั่วแปลง เมื่ออายุประมาณ 30 วันหลังปลูก ควรใชปุยเสริมไนโตรเจน เชน ปุยยูเรีย
                  แอมโมเนียมซัลเฟต เปนตน เพื่อเรงการเจริญเติบโตในระยะแรก อัตราประมาณ 25 - 30 กิโลกรัมตอไร

                  เมื่ออายุประมาณ 10 - 14 วันหลังปลูก การกำจัดวัชพืช กระเทียมเปนพืชที่มีรากตื้น ดังนั้นควรกำจัดวัชพืช
                  ในระยะที่วัชพืชเริ่มงอก ถาหากปลอยทิ้งไวนอกจากจะแยงน้ำ อาหาร และแสงแดดจากกระเทียมแลว
                  เมื่อถอนจะทำใหรากของกระเทียมกระเทือนทำใหการเจริญเติบโตชะงักหรือทำใหตนเหี่ยวตายได ฉะนั้น
                  เมื่อวัชพืชมีขนาดใหญควรใชมีดหรือเสียมมือเล็ก ๆ แซะวัชพืชออก

                                         (1.3) การเก็บเกี่ยวผลผลิต ลักษณะการแกจัดของกระเทียม สามารถ
                  สังเกตไดดังนี้ มีตุมหรือหัวขนาดเล็ก ๆ เกิดขึ้นที่ลำตนของกระเทียมตั้งแต 1 ตุมขึ้นไป สวนของยอด
                  เจริญขึ้นมาหมดแลว และกำลังมีตนดอกชูขึ้นมา ใบกระเทียมเริ่มแหงตั้งแตปลายใบลงมามากกวา
                  30 เปอรเซ็นต ใบหรือตนกระเทียม เอนหักลมนอนไปกับพื้นดิน 25 เปอรเซ็นตขึ้นไป ดอกหรือโคนลำตน

                  บีบดูจะรูสึกออนนิ่ม ถาพบลักษณะดังกลาว ใหเริ่มถอนกระเทียมได ซึ่งจะมีอายุการเก็บเกี่ยวประมาณ
                  100 - 120 วันหลังปลูก หรือเมื่อถึงระยะเวลาเก็บเกี่ยวใบจะแหง ถาเก็บเกี่ยวชาเกินไปจะทำใหกลีบรวงไดงาย
                  และไดกระเทียมที่มีคุณภาพไมดี
                                              วิธีเก็บเกี่ยว ถอนและตากแดดในแปลงประมาณ 2-3 ชั่วโมง โดยวาง

                  สลับกันใหใบคลุมหัวเพื่อปองกันไมใหถูกแสงแดดโดยตรง ตากไว 2 - 3 วัน ระวังอยาใหถูกฝน
                  และน้ำคางแรงในเวลากลางคืน นำมาผึ่งลมในที่รมสักระยะหนึ่ง ประมาณ 5 - 7 วัน ใหหัวและใบแหงดี
                  หลังจากนั้นนำมาคัดขนาดและมัดจุกตามตองการ
                                    (2)  การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว

                                         (2.1) การเก็บรักษาผลผลิต กระเทียมที่มัดจุกไวนำไปแขวนไวในโรงเรือน
                  เปดฝาทั้ง 4 ดาน หรือใตถุนบานที่มีการถายเทอากาศดี ไมถูกฝนหรือน้ำคาง รวมทั้งแสงแดดประมาณ
                  3 - 4 สัปดาห จะทำใหกระเทียมแหงสนิท คุณภาพดี จึงนำลงมากองสุมรวมกันเพื่อเก็บรักษาหรือขายตอไป
                  กระเทียมหลังจากเก็บ 5 - 6 เดือน จะสูญเสียน้ำหนักไปประมาณ 30 เปอรเซ็นต ถาหากเก็บขามป

                  จะมีสวนสูญเสีย 60 - 70 เปอรเซ็นต
                                         (2.2) การเก็บพันธุไวไชเอง เลือกคัดเอาหัวที่มีลักษณะรูปทรงของพันธุดี
                  สมบูรณปราศจากโรคและแมลงทำลาย และแกเต็มที่แลว โดยทั่วไปนิยมคัดหัวที่มีขนาดกลาง มีกลีบ

                  ประมาณ 3 - 6 กลีบ นำมาผึ่งในที่รมจนแหงดี ทำการมัดรวมกันแลวแขวนไวในที่รมมีลมพัดผาน
                  การถายเทอากาศดี ไมควรแกะกระเทียมเปนกลีบ ๆ ขณะเก็บรักษาเพราะจะทำใหผลผลิตลดลง เมื่อแกะแลว
                  ควรจะนำไปใชปลูกทันที กระเทียมจะมีระยะพักตัวประมาณ 5 - 6 เดือน ถาสภาพอากาศเหมาะสม
                  กระเทียมจะงอกไดตั้งแตเดือนกันยายนเปนตนไป กระเทียมที่เก็บรักษาไวจะตองนำปลูกกอนเดือนกุมภาพันธ
                  ถาหากไมนำลงปลูกจะฝอเสียหายหรืองอกทั้งหมด

                                         (2.3) การบรรจุหีบหอ รายละเอียดบนฉลาก ใหประกอบคำวา “กระเทียม
                  ศรีสะเกษ” หรือ “Gra Tiam Sisaket” หรือ “Sisaket Garlic” การระบุชื่อผูผลิตหรือผูจำหนาย
                  มีชื่อที่ตั้งของสถานที่ผลิตและจำหนาย ปริมาณน้ำหนักบรรจุเปนกรัมหรือกิโลกรัม







                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย          กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44