Page 34 - Plan GI
P. 34

2-18





                  เลื่อมมัน มีทองไขนอย เมื่อหุงสุกจะเหนียวนุมไมแข็งกระดาง ครอบคลุมพื้นที่ 7 อำเภอ ของจังหวัดบุรีรัมย

                  ไดแก อำเภอเมืองบุรีรัมย อำเภอละหานทราย อำเภอเฉลิมพระเกียรติ อำเภอหัวยราช อำเภอประโคนชัย
                  อำเภอปะคำ และอำเภอนางรอง
                             (1) พันธุขาว : พันธุขาวดอกมะลิ 105 และพันธุกข15

                             (2) ประเภทและลักษณะทางกายภาพของขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย
                                - ขาวเปลือก : เปลือกเมล็ดขาวสีฟาง เรียวยาว กนงอน ไมมีหาง มีขนาดเมล็ดยาว
                  ไมนอยกวา 10.6 มิลลิเมตร
                                - ขาวกลอง : เมล็ดขาวกลอง รูปรางเรียวยาว มีขนาดเมล็ดยาวไมนอยกวา 7.5 มิลลิเมตร

                                - ขาวขาว : เมล็ดขาวขาว รูปรางเรียวยาว ขาวใส มีความวาวเปนเงา เลื่อมมัน เมื่อหุงสุก
                  จะเหนียวนุม มีกลิ่นหอม ไมแฉะ ไมแข็งกระดาง
                             (3) ลักษณะทางเคมี
                                - มีปริมาณฟอสฟอรัส อยูในชวง 1,578 - 3,109 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม

                                - มีแคลเซียม อยูในชวง 66 - 110 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม
                                - มีปริมาณแอมิโลส อยูในชวงรอยละ 13 - 18
                             (4) ลักษณะอื่น ๆ
                                - ความชื้น ไมเกินรอยละ 14

                                - สิ่งเจือปน ไมเกินรอยละ 2
                                - พันธุขาวอื่นปน ไมเกินรอยละ 5

                        2.3.2 ปฏิทินการเพาะปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI)

                             ในการผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) นั้น จำเปนตองศึกษาขอมูลชวงระยะเวลาใน
                  การเพาะปลูกและดูแลรักษาจนถึงการบริหารจัดการพืชใหเหมาะสมเพื่อนำไปสูการผลิตพืชบงชี้

                  ทางภูมิศาสตร (GI) ที่มีคุณภาพ และเปนมาตรฐานตรงกับลักษณะทองถิ่น โดยแตละพืชมีระยะเวลา ดังนี้
                  1) ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ


                                                                     เดือน/ป
                   กิจกรรม
                                         ม.ค  ก.พ  มี.ค  เม.ย  พ.ค  มิ.ย  ก.ค   ส.ค  ก.ย.  ต.ค.  พ.ย.  ธ.ค.
                   การปลูก
                   การใสปุย
                   การกำจัดวัชพืช
                   การปองกันกำจัดศัตรูพืช
                   การตัดแตงทรงพุม
                   การตัดแตงดอก/ผล
                   การใหน้ำ
                   การเก็บเกี่ยวผลผลิต









                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย          กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39