Page 32 - Plan GI
P. 32

2-16





                  2.3   สภาวะเขตกรรมของพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI)


                        2.3.1 สายพันธุพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร(GI) เปนลักษณะเฉพาะของแตละพืชที่เปนเอกลักษณ
                  และเปนสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (Geographical Indications หรือ GI) เปนทรัพยสินทางปญญาประเภทหนึ่ง
                  ซึ่งจะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อมีความเชื่อมโยง (Links) ระหวางปจจัยสำคัญสองประการ คือ ธรรมชาติ และมนุษย
                  ซึ่งกรมทรัพยสินทางปญญา (2565) ไดเผยแพรขอมูลสายพันธุและลักษณะตาง ๆ ของพืชบงชี้
                  ทางภูมิศาสตร (GI) ไวดังนี้

                             1) ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ (Lava Durian Sisaket) หมายถึง ทุเรียนพันธุหมอนทอง พันธุชะนี
                  พันธุกานยาว ที่มีรสชาติหวานมัน มีกลิ่นหอมปานกลาง เนื้อละเอียด เนียนนุม แหง สีเนื้อเหลือง
                  สม่ำเสมอทั้งผล ซึ่งปลูกในพื้นที่อำเภอขุนหาญ อำเภอกันทรลักษณ และอำเภอศรีรัตนะ ของจังหวัดศรีสะเกษ

                                (1) พันธุ : พันธุหมอนทอง พันธุชะนี พันธุกานยาว
                                      - พันธุหมอนทอง ผลมีขนาดใหญ หนามแหลมสูง กานผลใหญแข็งแรง
                  เนื้อสีเหลืองออน ละเอียด แหง รสชาติหวานมัน เมล็ดนอยและลีบเปนสวนใหญ
                                      - พันธุชะนี ผลทรงกระบอกหรือทรงไข ปลายแหลม กลางผลปอง พูเห็นเดนชัด

                  รองหูไมลึก ขั้วผลใหญแข็งแรง ขนาดผลปานกลางถึงใหญ เนื้อสีเหลืองเขม ละเอียดและเหนียว รสชาติหวานมัน
                                      - พันธุกานยาว ผลทรงกลม หรือทรงลิ้นจี่คอนขางยาว กานผลยาวเห็นไดเดนชัด
                  ขนาดผลปานกลางถึงใหญ เนื้อสีเหลือง ละเอียดและเหนียว รสชาติหวานมัน เมล็ดโต
                                (2) ลักษณะทางกายภาพ

                                      - เปลือกผล เปลือกบาง สีเขียวอมเหลือง หนามคอนขางถี่
                                      - กานผล ผลแกมีสีน้ำตาลเขม จับแลวสากมือ
                                      - เนื้อ เนื้อหนาละเอียด เนียนนุม แหง เหนียว เสนใยนอย สีเนื้อเหลืองสม่ำเสมอ
                                      - รสชาติ หวานมัน

                                      - กลิ่น มีกลิ่นหอมไมฉุนมาก
                                      - เมล็ด เมล็ดลีบมาก
                             2) กระเทียมศรีสะเกษ (Gra Tiam Sisaket และ/หรือ Sisaket Garlic) หมายถึง

                  กระเทียมพันธุเบาหรือพันธุพื้นเมืองศรีสะเกษ มีลักษณะเดนที่สำคัญ คือ เปลือกนอกสีขาวแกมมวง
                  เปลือกบาง หัวแนนกลิ่นฉุน รสเผ็ดรอน ซึ่งปลูกในพื้นที่อำเภอเมืองศรีสะเกษ อำเภอราษีไศล อำเภอยางชุมนอย
                  อำเภอกันทรารมย อำเภออุทุมพรพิสัย อำเภอวังหิน และอำเภอพยุห ของจังหวัดศรีสะเกษ
                                 (1) พันธุกระเทียม เปนพันธุเบาหรือพันธุพื้นเมืองศรีสะเกษ
                                (2) ลักษณะทางกายภาพ

                                      - รูปทรง เปนหัวทรงกลมหรือกลมแปน หัวแนน กลีบและหัวสีขาว
                                - เปลือก เปลือกนอกสีขาวแกมมวง เปลือกบาง
                                - เนื้อ เมื่อลอกเปลือกนอกออกจะพบกลีบเรียงซอนกัน 4 - 15 กลีบ เมื่อแกะเปลือก

                  กลีบออกจะพบเยื่อบาง ๆ สีชมพูออนหรือสีขาวหุมกลีบอยูเปนชั้นสุดทาย
                                - รสชาติ รสเผ็ดรอน มีกลิ่นฉุน
                           3) หอมแดงศรีสะเกษ (Hom Dang Sisaket และ/หรือ Sisaket Shallot) หมายถึง
                  หอมแดงศรีสะเกษ มีลักษณะเปลือกแหงมัน สีแดงเขมปนมวง หัวมีลักษณะกลม มีกลิ่นฉุน ซึ่งปลูกในพื้นที่





                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย          กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37