Page 33 - Plan GI
P. 33

2-17






                  อำเภอเมืองศรีสะเกษ อำเภอราษีไศล อำเภอยางชุมนอย อำเภอกันทรารมย อำเภออุทุมพรพิสัย อำเภอวังหิน

                  และอำเภอพยุห ของจังหวัดศรีสะเกษ
                             (1) พันธุหอมแดง เปนสายพันธุศรีสะเกษ
                             (2) ลักษณะทางกายภาพ

                                - รูปทรง เปนหัวทรงกลม ขนาดหัวใหญ เสนผานศูนยกลาง 1.5 - 3 เซนติเมตร
                                - เปลือก เปลือกแหงมัน เปลือกนอกสีแดงปนมวงถึงสีแดงเขม เปลือกหนาและเหนียว
                                - เนื้อ เมื่อลอกเปลือกออกจะพบหัวแบงออก 2 - 5 หัว เนื้อสีมวงออน เมื่อผาออกเนื้อใน
                  มีสีขาว

                                - รสชาติ มีรสหวานเล็กนอย กลิ่นฉุน
                           4) สับปะรดทาอุเทน (Tha Uthen Pineapple) หมายถึง สับปะรดพันธุปดตาเวีย ที่มีเนื้อละเอียด
                  แนนสีเหลืองเขม ตาตื้น รสชาติหวานฉ่ำ หอม ไมกัดลิ้น แกนหวาน กรอบ รับประทานไดซึ่งปลูกในเขตพื้นที่
                  อำเภอทาอุเทน และอำเภอโพนสวรรค ของจังหวัดนครพนม

                             (1) พันธุสับปะรด : พันธุปตตาเวีย
                             (2) ลักษณะทางกายภาพ
                                - รูปทรง ผลมีขนาดคอนขางใหญ น้ำหนักผลระหวาง 1 - 3 กิโลกรัม
                                - เปลือกผิว เปลือกบาง ตาตื้น ผลดิบมีสีเขียว ผลแกมีสีเหลืองอมสม เหลืองอมเขียว

                  หรือยังคงเขียวเขม
                                - เนื้อ เนื้อละเอียด แนน สีเหลืองเขม แกนหวาน และกรอบ รับประทานได
                                - รสชาติ หวานฉ่ำ หอม ไมกัดลิ้น และไมระคายคอ
                           5) ลิ้นจี่นครพนม (Nakkhonphanom Lychee หรือ Litchi) หมายถึง ลิ้นจี่พันธุนพ.1

                  ที่มีเปลือกสีแดงอมชมพู ผลขนาดใหญ ทรงรูปไข เนื้อผลแหง สีขาวขุน รสชาติหวานอมเปรี้ยว ไมมีรสฝาด
                  ซึ่งปลูกในเขตพื้นที่ตำบลขามเฒา ของอำเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม
                             (1) พันธุลิ้นจี่ สายพันธุนครพนม 1 หรือ นพ.1 ชื่อทางวิทยาศาสตร Litchi Chinensis Sonn.

                  วงศ Sapindaceae เปนลิ้นจี่ที่คัดเลือกและพัฒนาโดยกรมวิชาการเกษตร จนปจจุบันเปนผลไมและเปนสินคา GI
                  เปนลิ้นจี่สายพันธุเบาที่ตองการความหนาวเย็นที่ไมเย็นมาก และระยะเวลาหนาวเย็นที่ตอเนื่องกันไม
                  นานก็สามารถชักนำใหออกดอกได มีขอไดเปรียบ คือ ใหผลผลิตเร็ว ชวงที่ผลผลิตมีนอย ทำใหขายได
                  ราคาสูง

                             (2) ลักษณะทางกายภาพ
                                - รูปทรง เปนรูปไข ไหลผลกวาง ปลายผลมน ขนาดผลโต 4 - 4.5 เซนติเมตร กวาง
                  3.7 เซนติเมตร น้ำหนักผล 25 - 30 กรัมตอผล
                                - เปลือกผิว มีเปลือกสีแดงอมชมพู ผิวขรุขระไมเรียบ หนามทูและหาง เห็นลองชัดเจน
                                - เนื้อ เนื้อผลแหง มีสีขาวขุน ปริมาณเนื้อรอยละ 67 - 68

                                - รสชาติ หวานอมเปรี้ยว ความหวานไมต่ำกวา 18 องศาบริกซ
                           6) ขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย (Kaow Hom Mali Din Phu Kao Fai Buriram Rice)
                  หมายถึง ขาวเปลือก ขาวกลอง และขาวขาว ที่แปรรูปมาจากขาวหอมมะลิพันธุขาวดอกมะลิ 105 และพันธุ

                  กข15 ปลูกในฤดูนาป บนพื้นที่ที่มีแรธาตุจากดินภูเขาไฟบุรีรัมยซึ่งเปนลักษณะเฉพาะ ทำใหเมล็ดขาวเรียวยาว





                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย          กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38