Page 107 - Nongbualamphu
P. 107

5-9





                  โตเร็ว ท าสวนป่า หรือทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ธรรมชาติ โดยมีการจัดการระบบน้ าที่เหมาะสมกับชนิดพืช ขุดบ่อ

                  ท าฝายกั้นน้ า เป็นต้น

                                3.2)  เขตเกษตรกรรมที่ต้องพัฒนาร่วมกับระบบอนุรักษ์ดินและน้ า (สัญลักษณ์
                  แผนที่ 232)

                                      เขตเกษตรกรรมที่ต้องพัฒนาร่วมกับระบบอนุรักษ์ดินและน้ า มีเนื้อที่ 4,272 ไร่

                  (ร้อยละ 0.18 ของเนื้อที่จังหวัด) เขตนี้เป็นพื้นที่สูงที่มีความลาดชัน ที่ดินมีปัญหาการชะล้างพังทลาย
                  และการสูญเสียดิน ซึ่งเป็นเขตพื้นที่สูงที่มีความลาดชันระดับต่างๆ เกิดปัญหาหน้าดินถูกชะล้างพังทลาย

                  สูญเสียธาตุอาหารพืช และไม่สามารถกักเก็บน้ าไว้ได้ มีการใช้ที่ดินเพื่อการปลูกอ้อย ข้าวโพด และมัน
                  ส าปะหลัง ควรมีระบบอนุรักษ์ดินและน้ า โดยการน ามาตรการทั้งวิธีกลและวิธีพืชมาใช้ เช่น ปลูกพืชสลับ

                  ส่งเสริมการปลูกพืชเชิงอนุรักษ์แบบผสมผสาน รวมถึงการเขตกรรม เช่น การไถพรวนน้อยครั้ง หรือไม่ไถ

                  พรวน สามารถลดการสูญเสียหน้าดิน ลดการสูญเสียธาตุอาหารพืช และเก็บกักน้ าได้ดีขึ้น มีการจัดการน้ าที่
                  เหมาะสม และน าหญ้าแฝกมาใช้ประโยชน์ในการอนุรักษ์ดินและน้ า โดยปลูกร่วมกับมาตรการวิธีกลเช่น

                  การท าขั้นบันไดดิน คูรับน้ าขอบเขา คันดิน ฝายชะลอน้ า พื้นที่มีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งไม่
                  เหมาะสมส าหรับการท าการเกษตร ควรฟื้นฟูพื้นที่ด้วยการปลูกป่า 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง หรือ

                  ระบบวนเกษตร

                             4) เขตพัฒนาปศุสัตว์ (สัญลักษณ์แผนที่ 25)
                               มีเนื้อที่ 820 ไร่ (ร้อยละ 0.03 ของเนื้อที่จังหวัด) ปัจจุบันมีสภาพเป็นพื้นที่โรงเรือน

                  เลี้ยงสัตว์และทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ ทั้งโค กระบือ และม้า

                               รูปแบบการพัฒนาและแนวทางการจัดการ จัดการด้านสุขอนามัยและความสะอาด
                  การป้องกันกลิ่น เสียง และของเสียจากการปศุสัตว์ไม่ปล่อยลงสู่แหล่งน้ าโดยตรง เฝ้าระวังโรคติดต่อ

                  ประจ าฤดูของสัตว์เลี้ยง ดูแลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน ป้องกันผลกระทบต่อแหล่งน้ าเพื่อการ
                  บริโภคและอุปโภคที่สามารถถ่ายทอดต่อกันระหว่างสัตว์และจากสัตว์สู่คน

                             5) เขตพัฒนาการประมง (สัญลักษณ์แผนที่ 26)

                               มีเนื้อที่ 1,760 ไร่ (ร้อยละ 0.07 ของเนื้อที่จังหวัด) ปัจจุบันเป็นพื้นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ า
                  เช่น ปลา และกุ้ง เป็นต้น

                                รูปแบบการพัฒนาและแนวทางการจัดการ การจัดการด้านน้ าเสียจากการเพาะเลี้ยง
                  สัตว์น้ าและแหล่งอนุบาลตัวอ่อนสัตว์น้ า ด้านความสะอาดและสุขอนามัยชุมชนด้านกลิ่น เสียง และน้ าทิ้ง

                  จากบ่อเพาะเลี้ยง จัดให้มีบ่อพักน้ าและไม่ปล่อยลงสู่แหล่งน้ าโดยตรง เฝ้าระวังโรคติดต่อประจ าฤดูของ

                  สัตว์น้ าที่อาจแพร่กระจายสู่คนจากการสัมผัสหรือเมื่อน าไปปรุงอาหาร ป้องกันผลกระทบต่อแหล่งน้ า
                  เพื่อการบริโภคและอุปโภค

                        5.1.3 เขตพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112