Page 112 - Nongbualamphu
P. 112

5-14





                  ที่ได้จัดแบ่งเป็น 6 เขตหลัก คือ เขตพื้นที่ป่าไม้ตามกฎหมายและป่าไม้ตามมติคณะรัฐมนตรี เขตพื้นที่

                  เกษตรกรรม เขตพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง เขตอุตสาหกรรม เขตแหล่งน้ า และเขตรักษาสมดุลสิ่งแวดล้อม

                        ทั้งนี้ การน าแผนไปสู่การปฏิบัติเป็นขั้นตอนส าคัญในการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ เนื่องจาก
                  กระบวนการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ จะส่งผลโดยตรงอย่างมีนัยส าคัญต่อความส าเร็จตามแผน

                  เชิงยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และโดยที่ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการทรัพยากรดินและที่ดิน จะมี

                  การเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นพลวัตกับแนวนโยบายการพัฒนาประเทศ ข้อเสนอแนะการจัดท าแผนการใช้ที่ดิน
                  ระดับจังหวัด ดังนี้

                        1)  การพัฒนาเป็นแผนการใช้ที่ดินเชิงยุทธศาสตร์ ที่มีการก าหนดเป้าหมายความส าเร็จในระยะเวลา
                  ที่ชัดเจน เช่น แผนเชิงยุทธศาสตร์ ระยะสั้น 3–5 ปี ที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

                  ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566–2670) ภายใต้กรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ระดับชาติ และแผนปฏิรูปประเทศ

                  ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะมีส่วนร่วมในยุทธศาสตร์ มีความเข้าใจ
                  มุ่งเน้นในยุทธศาสตร์และความรับผิดชอบร่วมกัน เกิดแรงจูงใจด าเนินการตามประเด็นยุทธศาสตร์ของ

                  แต่ละหน่วยงานในพื้นที่จังหวัดหนองบัวล าภู ซึ่งจะเป็นแรงผลักดันการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การใช้ที่ดิน
                  เชิงเชิงบูรณาการร่วมกัน การแปลงแผนการใช้ที่ดินเป็นแผนปฏิบัติการเชิงยุทธศาสตร์ จะท าให้การปรับปรุง

                  และพัฒนาแผนสามารถท าได้อย่างต่อเนื่องจนกว่าจะสิ้นสุดระยะเวลาของแผน การปฏิบัติงานจะมี

                  ความยืดหยุ่น ตอบสนองต่อบริบทที่ปรับเปลี่ยนไป สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างทันท่วงที โดยส่งผลกระทบ
                  ต่อเป้าหมายของแผนเชิงยุทธศาสตร์น้อย การขับเคลื่อนแผนเป็นไปอย่างมีทิศทาง สามารถบรรลุเป้าหมาย

                  ได้อย่างประสานสอดคล้องกันในทุกระดับ

                        2) การผลักดันให้แผนการใช้ที่ดินระดับจังหวัด เป็นเครื่องมือการขับเคลื่อนนโยบายและ
                  ยุทธศาสตร์ชาติ โดยให้มีข้อบัญญิติทางกฎหมายการบังคับใช้เขตการใช้ที่ดิน เพื่อการส่งเสริมเขตเกษตร

                  เศรษฐกิจที่สอดคล้องกับฐานข้อมูลการเกษตรเชิงรุก (Agri–Map) ตามหลักวิชาการ เป็นไปอย่างจริงจัง
                  ส่งเสริมให้การใช้ที่ดินเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจการเกษตรสามารถตอบสนองและรองรับความมั่นคงทางอาหาร

                  (Food Security) ส าหรับประชากรในทุกระดับ ตั้งแต่ครัวเรือน ชุมชน จังหวัด ภูมิภาค ประเทศ จนถึง

                  ระดับโลก ข้อบังคับเขตการใช้ที่ดินเพื่อส่งเสริมเศรษบกิจการเกษตรจากฐานจ้อมูลเกษตรเชิงรุก (Agri–Map)
                  จะเป็นกลไกลดปัญหาการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน (Land Use Change) สร้างความมั่นใจด้านผลผลิต

                  การส่งเสริมด้านการตลาด และลดต้นทุนด้านการจัดการ
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117