Page 111 - Nongbualamphu
P. 111

5-13





                  จังหวัดหนองบัวล าภู รวมทั้งงบประมาณตามแผนปฏิบัติราชการประจ าปีของหน่วยงาน และการจัดสรร

                  งบประมาณด าเนินการในระดับพื้นที่

                        5.2.4  การก าหนดบทบาทหน่วยงานและภาคีเครือข่ายทุกระดับในการขับเคลื่อนแผนไปสู่การปฏิบัติ
                  ตามบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ ได้แก่ รัฐบาล หน่วยงานกลาง หน่วยราชการส่วนกลาง รัฐวิสาหกิจ

                  จังหวัด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมถึงภาคเอกชน สถาบันการศึกษา หน่วยงานวิจัย และสื่อต่างๆ

                  จากนั้นจึงจัดให้มีกระบวนการประชาพิจารณ์ (Public Hearings) เพื่อให้แผนเป็นที่ยอมรับร่วมกัน
                  ก่อนการน าแผนไปปฏิบัติ ซึ่งการด าเนินการตามแผนปฏิบัติการเชิงบูรณาการดังกล่าวนี้ จะส่งผลกระทบ

                  เชิงประจักษ์ในภาพรวมของจังหวัดหนองบัวล าภูที่เป็นรูปธรรม ในระดับและมิติต่างๆ การด าเนินงาน
                  ภายใต้แผนเป็นไปตามล าดับความส าคัญ การใช้จ่ายงบประมาณเป็นไปอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ



                  5.3  สรุปและข้อเสนอแนะ
                        การศึกษาเพื่อจัดท าแผนการใช้ที่ดินจังหวัดหนองบัวล าภู ฉบับนี้ ด าเนินการภายใต้หลักการพัฒนา

                  อย่างยั่งยืนและเศรษฐกิจพอเพียงโดยมีเกษตรกรเป็นศูนย์กลางการพัฒนา มีกรอบแนวคิดการพิจารณา

                  ข้อมูลที่เกี่ยวข้องใน 4 ระดับ ได้แก่ 1) นโยบายระดับประเทศและภูมิภาค ตามแนวทางการพัฒนา
                  จังหวัดในกลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 ซึ่งประกอบด้วย 5 จังหวัด คือ อุดรธานี หนองคาย เลย

                  หนองบัวล าภู และบึงกาฬ 2) นโยบายระดับจังหวัด พิจารณาจากยุทธศาสตร์และแผนพัฒนาจังหวัด

                  หนองบัวล าภู ซึ่งได้มีการก าหนดกรอบแนวทางการพัฒนาจังหวัดหนองบัวล าภู ไว้ด้วยแล้ว และ 3) ระดับ
                  พื้นที่จังหวัดหนองบัวล าภู โดยการเดินทางศึกษาส ารวจและสัมภาษณ์เกษตรกรโดยวิธีการสุ่ม และ 4)

                  การศึกษาข้อมูลดินเชิงกายภาพจังหวัดหนองบัวล าภู จากระบบฐานข้อมูลกรมพัฒนาที่ดิน ประกอบการ
                  วิเคราะห์และประเมินศักยภาพและสมรรถนะของพื้นที่เพื่อรองรับกิจกรรมด้านการเกษตร ที่สอดคล้อง

                  กับบริบทของข้อมูลจากระดับ 1) ระดับ 2) และระดับ 3) ซึ่งสามารถสรุปแนวทางการบริหารจัดการ

                  ทรัพยากรดินและที่ดินจังหวัดหนองบัวล าภู  ในบริบทต่าง ๆ ดังนี้
                        1)  ในระดับกลุ่มจังหวัด : ส่งเสริมบทบาทการเป็นเมืองหน้าด่าน และช่องทางติดต่อการค้าที่เชื่อมต่อ

                  ระบบห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ระหว่างจังหวัดในกลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 เป็นโครงข่าย
                  อย่างครอบคลุม โดยการเร่งรัดพัฒนาด้านโลจิสติกส์และเส้นทางคมนาคมที่เอื้อต่อการขนส่งสินค้าและ

                  ผลผลิตทางการเกษตร รองรับความต้องการที่ดินจากการเพิ่มขึ้นของจ านวนประชากร และสร้างรายได้

                  จากการท่องเที่ยว การเป็นจังหวัดศูนย์กลางเชื่อมโยงด้านการคมนาคมขนส่ง และระบบโลจิสติกส์ ภายใต้
                  จังหวัดในกลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1

                        2) ภายในจังหวัด : สร้างความร่วมมือระหว่างส่วนราชการและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อผลักดัน

                  แผนการใช้ที่ดินจังหวัดหนองบัวล าภูไปสู่การปฏิบัติ และสนับสนุนเกษตรกรด าเนินการตามแผนการใช้ที่ดิน
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116