Page 104 - Nongbualamphu
P. 104

5-6





                  กระจายการไหลของน้ าที่ไหลบ่าบนผิวดิน ท าให้น้ าซึมลงไปในดินได้มากขึ้น รวมทั้ง การใช้วัสดุคลุมดิน

                  ปกคลุมผิวหน้าดิน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นวัสดุธรรมชาติ ได้แก่ เศษซากพืชหรือวัสดุเหลือใช้ในการเกษตร เช่น

                  ฟางข้าว ตอซังพืช แกลบ ขี้เถ้า ขี้เลื่อย ตลอดจนใบไม้ ใบหญ้าแฝก และหญ้าแห้ง น ามาคลุมโคนต้นและ
                  ระหว่างแถวพืชที่ปลูก เพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ าและเพิ่มอินทรียวัตถุให้กับดิน จากการย่อยสลายของ

                  วัสดุคลุมดินดังกล่าว

                                1.3)  เขตปลูกไม้ผล/พืชผัก (สัญลักษณ์แผนที่ 213)
                                      เขตปลูกไม้ผล/พืชผัก เนื้อที่ 158 ไร่ (ร้อยละ 0.05 ของเนื้อที่จังหวัด) เขตนี้มี

                  ศักยภาพการผลิตทั้งระดับสูง (S1) และระดับปานกลาง (S2) พบข้อจ ากัดการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่
                  ความเสียหายจากการกัดกร่อน สภาวะการหยั่งลึกของราก ความเป็นประโยชน์ของออกซิเจนต่อรากพืช

                  ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร และความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร ซึ่งสามารถปรับปรุงแก้ไขได้

                                      รูปแบบการพัฒนาและแนวทางการจัดการ การเพิ่มอินทรียวัตถุให้กับดิน
                  ได้แก่ ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก เศษพืช หรือไถกลบพืชปุ๋ยสด เพื่อให้อินทรียวัตถุเป็นตัวดูดน้ าและธาตุอาหาร

                  รวมทั้งช่วยการยึดเกาะของดินได้ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ควรมีการจัดการน้ าที่เหมาะสมโดยการพัฒนาแหล่งน้ า
                  และให้น้ าทีละน้อยแต่บ่อยครั้ง โดยระบบน้ าหยด เป็นต้น

                                1.4)  เขตปลูกไม้ยืนต้น (สัญลักษณ์แผนที่ 214)

                                      เขตปลูกไม้ยืนต้น เนื้อที่ 775 ไร่ (ร้อยละ 0.03 ของเนื้อที่จังหวัด) เขตนี้มีศักยภาพ
                  การผลิตทั้งระดับสูง (S1) และระดับปานกลาง (S2) พบข้อจ ากัดการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ ความชุ่มชื้น

                  ที่เป็นประโยชน์ต่อพืช ความเป็นประโยชน์ของออกซิเจนต่อรากพืช ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร และ

                  ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร ซึ่งสามารถปรับปรุงแก้ไขได้
                                      รูปแบบการพัฒนาและแนวทางการจัดการ เลือกชนิดพืชปลูกที่เหมาะสม ปลูก

                  พืชทนแล้งที่มีระบบรากลึกเพื่อให้พืชสามารถใช้น้ าใต้ดินได้ และการปลูกพืชหมุนเวียนไร่นาสวนผสม
                  อาจมีการใช้ปุ๋ยเคมีที่เหมาะสมกับชนิดพืชที่ปลูก เช่น ใช้ปุ๋ยเคมีที่ละลายช้าโดยใส่ครั้งละน้อย ๆ แต่ใส่

                  บ่อยครั้งเมื่อดินมีความชื้นเหมาะสม

                             2) เขตพื้นที่เกษตรกรรมมีศักยภาพในการผลิตสูง
                                เขตเกษตรกรรมที่มีศักยภาพในการผลิตสูง เป็นพื้นที่นอกเขตชลประทานจึงต้องอาศัย

                  น้ าฝนและแหล่งน้ าในไร่นานอกเขตชลประทานเพื่อท าการเกษตร ศักยภาพการผลิตระดับปานกลาง (S2)
                  ถึงระดับสูง (S1) เขตนี้มีความส าคัญในการผลิตพืชเศรษฐกิจของประเทศ ได้แก่ ข้าว พืชไร่ ปลูกไม้ผล/

                  พืชผัก และไม้ยืนต้น มีเนื้อที่รวม 851,828 ไร่ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 35.32 ของเนื้อที่จังหวัด เป็นเขตที่

                  ก าหนดให้การใช้ที่ดินเพื่อท านา พืชไร่เพื่อการอุตสาหกรรม (ข้าวโพด มันส าปะหลัง และอ้อยโรงงาน) และ
                  พืชเศรษฐกิจเพื่อการแข่งขัน (มะม่วง ล าไย พืชผัก และไม้ยืนต้นอื่น ๆ) รายละเอียดดังนี้

                                2.1)  เขตท านา (สัญลักษณ์แผนที่ 221)
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109