Page 168 - oil palm
P. 168

2-144






                                      2.1.4) confectionary  fatsผลิตภัณฑช็อคโกแลตมีกลิ่นจากการอบเมล็ดโกโก

                  และมีลักษณะเนื้อสัมผัสที่ไดจากไขมันคุณสมบัติที่ดีควรหลอมในปากไดอยางรวดเร็ว และไมรูสึก

                  เปนไขในปาก ซึ่งคุณสมบัติเหลานี้ปรากฏในกลีเซอไรดที่ไดจากการฟอรมตัวมากกวา 75เปอรเซ็นต

                  ของโกโกบัตเตอร ดังนั้นจึงไดมีการหาไขมันที่มีลักษณะคลายกับโกโกบัตเตอร ซึ่งแบงออกเปน 2 ชนิด
                                            (1) cocoa butter equivalent fatsเปนไขมันที่สามารถผสมกับโกโก

                  บัตเตอรไดหลายสัดสวน โดยมีองคประกอบหลักคือ mid- fraction ของน้ํามันปาลมที่ไดจากการแยก

                  สวนครั้งที่ 2 ซึ่งมีกลีเซอไรดไขมันไมอิ่มตัวพันธะคู 1 ตําแหนง 2 ชนิดที่ตองการ

                                            (2)cocoa butter extenders หรือ replacersเปนไขมันที่สามารถผสม
                  โกโกบัตเตอรได แตมีขอจํากัดวาจะตองไมออนนิ่ม และมีผลทําใหสูญเสียลักษณะปรากฏที่ดีในระหวาง

                  การเก็บรักษา ดังนั้นจึงมีการผลิตผลิตภัณฑจากปาลมโอเลอีนที่ไดจากการแยกสวนครั้งที่ 2 แลวเติม

                  ไฮโดรเจนบางสวนลงไป ซึ่งทําใหมีสัดสวนของกรดปาลมมิติกและกรดสเตียริกคลายกับโกโกบัตเตอร
                  และผสมกับโกโกบัตเตอรบางสวน(10-15 เปอรเซ็นต) และมีชวงจุดหลอมเหลวแคบ ใชเปนสารเคลือบ

                  ช็อคโกแลต และไอศกรีมแทง

                                      2.1.5)  ครีมเทียม (Coffee Whitener)ครีมเทียมนิยมใชแทนครีม นมผงหรือนมสด
                  ในกาแฟ ชา โกโก หรือ ช็อคโกแลตพรอมดื่มครีมเทียมที่ใชอยูมี 3 รูปคือ ผง เหลว และแชแข็ง ไขมัน

                  ที่นิยมใชในการผลิตครีมเทียมมีหลายชนิด โดยจะตองเลือกไขมันที่ละลายไดอยางรวดเร็วในกาแฟ

                  โดยไมลอยขึ้นมา มีรสชาติถูกปาก และตานทานตอการเกิดออกซิเดชั่น ถาสัดสวนของไขมันสูงและเปน

                  ของแข็งที่อุณหภูมิรางกาย จะไดครีมเทียมที่เปนไขในปาก ดังนั้นไขมันดังกลาวจะตองมีจุดหลอมเหลว
                  35-37 องศาเซลเซียส และมีไขมันแข็งในปริมาณสูงที่อุณหภูมิในการเก็บรักษา การทําครีมเทียมจากเมล็ด

                  ในปาลมที่ผานการเติมไฮโดรเจน พบวาครีมเทียมผงที่ไดมีลักษณะถูกปาก และคงตัวตอการออกซิเดชั่น

                  ทําไดโดยการผสมสวนผสมทั้งหมดเขาดวยกันจนมีลักษณะเปนอิมัลชั่น และนําเขาเครื่อง spray  dry

                  จะไดครีมเทียมผงที่มี slip point 20-40 องศาเซลเซียส
                                      2.1.6) วานาสปาติเปนไขมันพืชที่ผานการเติมไฮโดรเจน จากนั้นทําใหเย็น

                  และบรรจุกระปองใชเปนไขมันเนยสําหรับการปรุงอาหารนิยมบริโภคมากในประเทศอินเดียและ

                  ปากีสถาน รวมถึงประเทศแถบเมดิเตอรเรเนียนตะวันออก เชนประเทศยูโกสลาเวีย ตุรกี โมรอคโค
                                      2.1.7)  วิตามินอีในปาลมน้ํามันจะพบวิตามินอีในรูปของ tocols(tocopherolและ

                  tocotrienol)  และพบทั้งในสวนของผลและใบ วิตามินอีเปนสารที่มีคุณสมบัติในการตอตานอนุมูลอิสระ

                  ทําใหสามารถชวยปองกันโรคตางๆได เชน โรคมะเร็ง โรคเสนเลือดอุดตัน ดังนั้นประเทศมาเลเซีย จึง
                  ไดผลิตวิตามินอี ออกมาจําหนายทั้งในรูปผง ของเหลว เม็ด หรือแคปซูล เพื่อเปนอาหารเสริมสุขภาพ
   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173