Page 165 - oil palm
P. 165

2-141






                  ปจจุบันมีการใชในอุตสาหกรรมใหม คือ อุตสาหกรรมไบโอดีเซล ซึ่งใชทดแทนน้ํามันดีเซล ซึ่งนับวันจะ

                  ขาดแคลนและมีราคาสูงขึ้น

                             2) การใชประโยชนจากผลิตภัณฑปาลมน้ํามัน

                                น้ํามันปาลมเปนน้ํามันที่มีคุณสมบัติพิเศษ สามารถนําไปใชประโยชนไดหลายอยาง
                  เนื่องจากความแตกตางระหวางองคประกอบของกรดไขมัน ลักษณะทางเคมีและกายภาพ และสมบัติอื่นๆ

                  ดังนี้

                                -มีความคงตัวตอการเกิดออกซิเดชั่น
                                -มีปริมาณไขมันแข็งตามธรรมชาติ

                                -มีความคงตัวในการเกิดผลึกเบตาไพรม (β )
                                                                    1
                                -ราคาถูก หาไดงาย และมีการผลิตมากขึ้นในแตละป

                                -มีคุณคาทางโภชนาการ
                                จากคุณสมบัติเหลานี้จึงไดรับการยอมรับจากภาคอุตสาหกรรมในการนําไปใชในการผลิต

                  ผลิตภัณฑตางๆ มากมาย สามารถแบงการนําไปใชออกได2 แบบ คือ

                                2.1)  อุตสาหกรรมอาหาร (food use)
                                      น้ํามันปาลมและน้ํามันเมล็ดในปาลมประมาณรอยละ 80ถูกนําไปใชในอุตสาหกรรม

                  อาหารหลายประเภท ซึ่งมีการใชประโยชนจากน้ํามันปาลม น้ํามันเมล็ดในปาลม และผลิตภัณฑที่มี

                  การดัดแปลงดังนี้
                                      2.1.1)  เนยขาว (shortening)เปนผลิตภัณฑที่มีเฉพาะไขมันและ/หรือน้ํามันเทานั้น

                  โดยมีปริมาณไขมันและ/หรือน้ํามัน 100 เปอรเซ็นต เนยขาวบางชนิดอาจมีน้ําไมเกิน 0.2เปอรเซ็นต

                  แบงออกเปน 3 ชนิด คือ plastic shortening, superglycerinated shortening และ pumpable shortening

                                            เนยขาวมีหนาที่จับและกักเก็บอากาศ เมื่อตีสวนผสมเคกหรือครีมกับ
                  น้ําตาล ทําใหเคกมีโครงสรางโปรง เปนรู และทําใหเพิ่มปริมาตรของครีมหรือเคก สวนขนมอบอื่นๆ

                  เนยขาวจะแทรกอยูในเนื้อแปงโดยไปกีดขวางการรวมตัวของเนื้อแปง ทําใหเนื้อแปงที่แนนแยกตัวออก

                  ทําใหขนมอบมีความนุม ไมแข็งกระดาง การผลิตเนยขาวเริ่มจากการผสมไขมันเขาดวยกันในแท็งค

                  และหลอมไขมัน จากนั้นลดอุณหภูมิลง 46-49 องศาเซลเซียส อาจมีการเติมออกซิเจนและไนโตรเจน
                  ในขั้นตอนนี้ จากนั้นนําเนยขาวเขาเครื่องถายเทความรอน ทําใหอุณหภูมิของเนยขาวลดลงอยางรวดเร็วถึง

                  15.50–18.00 องศาเซลเซียส และเขาเครื่องตกผลึก ในขั้นตอนนี้ตองมีการนวดดวยเพื่อไมใหผลึกเกาะ

                  ตัวกัน จากนั้นนําเนยขาวบรรจุภาชนะตอไป ในการผลิตเนยขาวจะมีการเติมน้ํามันปาลมประมาณ 15-
                  20เปอรเซ็นต เพื่อเหนี่ยวนําใหเกิดการตกผลึกแบบเบตา ซึ่งเปนการตกผลึกแบบที่ตองการเนื่องจากจะทํา
   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170