Page 39 - เขตการใช้ที่ดินพิชเศรษฐกิจมะม่วง
P. 39

2-23






                          แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจมะม่วง ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ ยอินทรีย์
                  หรือปุ๋ ยหมัก โดยต้นมะม่วงขนาดเล็กใส่อัตรา 20 กิโลกรัมต่อต้น ต้นมะม่วงขนาดใหญ่ (ขนาดทรงพุ่ม 5

                  เมตร) ใส่อัตรา 35 กิโลกรัมต่อต้น ร่วมกับการใช้ปุ๋ ยเคมีโดยเฉพาะธาตุอาหารหลักฟอสฟอรัส และใน

                  บางพื้นที่ที่ดินเป็นกรดใช้หินปูนบด (CaCO ) อัตรา 200-300 กิโลกรัมต่อไร่ เพื่อเพิ่มความเป็น
                                                         3
                  ประโยชน์ของธาตุอาหารพืชในดิน

                        33) หน่วยที่ดินที่  33  33I  33b  33bI  33B  33BI  33Bb  33BbI  33C  33CI  33D  33Bgm

                  33BgmI  33gm  33gmI  3 3 M  3 3 BM  3 3 BgmM  3 3 BgmIM  3 3 BIM  3 3 CM  3 3 CIM  3 3 DM

                  33gmM  33gmIM  และ33IM
                          พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนชัน ดินลึกมาก การระบายน ้า

                  ค่อนข้างเลวถึงดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต ่าปานกลางถึง

                  ต ่ามากและความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็นด่างค่อนข้างต ่าถึงปานกลาง ดินบนเนื้อดินเป็นดินร่วน
                  ปนทรายแป้ง ดินล่าง เนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง

                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ การขาดแคลนน ้าในระยะฝนทิ้งช่วงนาน และในช่วง

                  ฤดูแล้ง ดินกลุ่มนี้ส่วนใหญ่ใช้ปลูกพืชไร่ต่างๆ เช่น ข้าวโพด อ้อย ฝ้าย ยาสูบ และถั่วต่างๆ เป็นต้น บาง
                  แห่งใช้ปลูกไม้ผลหรือเป็นที่อยู่อาศัย

                          แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจมะม่วง ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ ยอินทรีย์หรือ

                  ปุ๋ ยหมัก โดยต้นมะม่วงขนาดเล็กใส่อัตรา 25 กิโลกรัมต่อต้น ต้นมะม่วงขนาดใหญ่ (ขนาดทรงพุ่ม 5 เมตร)
                  ใส่อัตรา 30 กิโลกรัมต่อต้น ร่วมกับการใช้ปุ๋ ยเคมีโดยเฉพาะธาตุอาหารหลักฟอสฟอรัสและโพแทสเซียม

                        34) หน่วยที่ดินที่ 34 34I 34B 34BI 34C 34CI 34D 34E 34Bgm 34BgmI 34gm และ34gmI

                          พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา ดินลึกมาก การระบายน ้าค่อนข้างเลว
                  ถึงดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต ่า ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต ่าปานกลางถึงต ่ามากและความอิ่มตัว

                  ด้วยประจุบวกที่เป็นด่างต ่า ดินบนเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย ดินล่าง เนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียว

                  ปนทราย

                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย ท าให้ความสามารถในการอุ้ม
                  น ้าค่อนข้างต ่า และดินมีความอุดมสมบูรณ์ต ่า ในบริเวณที่มีความลาดชันสูง จะมีปัญหาเกี่ยวกับการชะ

                  ล้างพังทลายของหน้าดิน ดินกลุ่มนี้ใช้ปลูกยางพารา มะพร้าว ไม้ผล และพืชไร่บางชนิด บางแห่งยังคง

                  สภาพป่าธรรมชาติ ป่าละเมาะ และไม้พุ่ม

                          แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจมะม่วง ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ ยอินทรีย์
                  หรือปุ๋ ยหมัก โดยต้นมะม่วงขนาดเล็กใส่อัตรา 20 กิโลกรัมต่อต้น ต้นมะม่วงขนาดใหญ่ (ขนาดทรงพุ่ม 5

                  เมตร) ใส่อัตรา 35 กิโลกรัมต่อต้น ร่วมกับการใช้ปุ๋ ยเคมีโดยเฉพาะธาตุอาหารหลักไนโตรเจน ฟอสฟอรัส






                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง                     กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44