Page 40 - เขตการใช้ที่ดินพิชเศรษฐกิจมะม่วง
P. 40

2-24





                  และโพแทสเซียม และในบางพื้นที่ที่ดินเป็นกรดใช้หินปูนบด (CaCO ) อัตรา 300-400 กิโลกรัมต่อไร่
                                                                            3
                  เพื่อเพิ่มความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชในดิน

                        35) หน่วยดินที่  35   35I  35b  35bI  35B  35BI  35Bb  35BbI  35Bd3c  35Bd3cI  35Bgm

                  35BgmI  35C  35Cd3c  35Cd3cI  35CI  35D   35d3c  35d3cI  35E  35gm  และ35gmI
                          พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา ดินลึกมาก การระบายน ้าค่อนข้าง

                  เลวถึงดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต ่า ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต ่าปานกลางถึงต ่ามากและความ

                  อิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็นด่างต ่า ดินบน เนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย ดินล่าง เนื้อดินเป็นดินร่วน
                  เหนียวปนทราย

                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย ท าให้มีความสามารถในการอุ้ม

                  น ้าค่อนข้างต ่า และดินมีความอุดมสมบูรณ์ต ่า ในบริเวณที่มีความลาดชันสูง จะมีปัญหาเกี่ยวกับการชะล้าง

                  พังทลายของหน้าดิน ดินกลุ่มนี้ใช้ปลูกพืชไร่ต่างๆ เช่น มันส าปะหลัง ข้าวโพด ข้าวฟ่าง และถั่วต่างๆ
                  บางแห่งใช้ปลูกไม้ผลและไม้ยืนต้น

                          แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจมะม่วง ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ ยอินทรีย์

                  หรือปุ๋ ยหมัก โดยต้นมะม่วงขนาดเล็กใส่อัตรา 20 กิโลกรัมต่อต้น ต้นมะม่วงขนาดใหญ่ (ขนาดทรงพุ่ม 5
                  เมตร) ใส่อัตรา 35 กิโลกรัมต่อต้น ร่วมกับการใช้ปุ๋ ยเคมีโดยเฉพาะธาตุอาหารหลักไนโตรเจน ฟอสฟอรัส

                  และโพแทสเซียม และในบางพื้นที่ที่ดินเป็นกรดใช้หินปูนบด (CaCO ) อัตรา 400-1,000 กิโลกรัมต่อ
                                                                             3
                  ไร่ เพื่อเพิ่มความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชในดิน
                        36) หน่วยที่ดินที่ 36  36I  36B  36Bb  36bI  36BI  36BbI  36Bdc  36Bd3cI  36Bgm  36BgmI

                  36C  36CI  36D  36E  36gm  และ36gmI

                          พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา ดินลึกมาก การระบายน ้าค่อนข้างเลว

                  ถึงดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต ่าถึงปานกลาง ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต ่าปานกลางถึงต ่ามาก
                  และความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็นด่างค่อนข้างต ่าถึงปานกลาง ดินบน เนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย

                  ดินล่าง เนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวปนทราย

                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ การมีเนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย ท าให้ดินอุ้มน ้า

                  ได้น้อย พืชอาจขาดแคลนน ้าได้ในระยะฝนทิ้งช่วงเป็นเวลานาน ส าหรับบริเวณที่มีความลาดชันสูง
                  อาจมีปัญหาการชะล้างพังทลายของหน้าดิน ดินกลุ่มนี้ใช้ปลูกพืชไร่ต่างๆ เช่น อ้อย ข้าวโพด ถั่ว

                  สับปะรด และไม้ผลบางชนิด

                          แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจมะม่วง ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ ยอินทรีย์หรือ
                  ปุ๋ ยหมัก โดยต้นมะม่วงขนาดเล็กใส่อัตรา 20 กิโลกรัมต่อต้น ต้นมะม่วงขนาดใหญ่ (ขนาดทรงพุ่ม 5 เมตร)









                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง                     กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45