Page 37 - เขตการใช้ที่ดินพิชเศรษฐกิจมะม่วง
P. 37

2-21






                        28) หน่วยที่ดินที่ 28  28I  28b  28B  28Bb  28BbI  28Bb,d3c  28d3c  28Bgm  28bI
                  28BI  28C  28D  28E  28gm  และ28gmI

                          พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา ดินลึกมาก การระบายน ้าค่อนข้างเลว

                  ถึงดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ปานกลางถึงสูง ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกและความอิ่มตัวด้วย
                  ประจุบวกที่เป็นด่างสูง ดินบนและดินล่าง เนื้อดินเป็นดินเหนียว

                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เนื้อดินเหนียวจัด การไถพรวนยาก ควรไถพรวน

                  ในช่วงที่ดินมีความชื้นพอเหมาะ มิฉะนั้นจะท าให้ดินแน่นทึบ ในช่วงฤดูแล้ง ดินมีการหดตัว ท าให้
                  ดินแตกระแหงเป็นร่องลึก และขาดแคลนน ้า

                          แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจมะม่วง  ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ ยอินทรีย์หรือ

                  ปุ๋ ยหมัก โดยต้นมะม่วงขนาดเล็กใส่อัตรา 15 กิโลกรัมต่อต้น ต้นมะม่วงขนาดใหญ่ (ขนาดทรงพุ่ม 5 เมตร)

                  ใส่อัตรา 25 กิโลกรัมต่อต้น ร่วมกับการใช้ปุ๋ ยเคมีโดยเฉพาะธาตุอาหารหลักไนโตรเจนและฟอสฟอรัส
                  และในบางพื้นที่ที่ดินเป็นด่างจัด ควรให้ปุ๋ ยทางใบเสริมเมื่อพบอาการขาดธาตุอาหารในมะม่วง

                        29) หน่วยที่ดินที่ 29  29  29b  29B  29BI  29C  29CI  29D  29E  และ 29gm

                          พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา ดินลึกมาก การระบายน ้าค่อนข้างเลว
                  ถึงดีปานกลาง ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต ่า ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต ่ามากถึงต ่าปานกลางและ

                  ความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็นด่างต ่า ดินบน เนื้อดินเป็นดินร่วนปนดินเหนียวถึงดินเหนียว
                   ดินล่าง เนื้อดินเป็นดินเหนียว

                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต ่า ในช่วงฤดูเพาะปลูกพืชอาจ

                  ขาดน ้าได้หากฝนทิ้งช่วงเป็นเวลานาน ในบริเวณที่มีความลาดชันสูง จะมีปัญหาเกี่ยวกับการชะล้าง
                  พังทลายของหน้าดิน ดินกลุ่มนี้ใช้ปลูกพืชไร่ และไม้ผลต่างๆ บางบริเวณยังคงสภาพเป็นป่าธรรมชาติ

                          แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจมะม่วง ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ ยอินทรีย์หรือ

                  ปุ๋ ยหมัก โดยต้นมะม่วงขนาดเล็กใส่อัตรา 15 กิโลกรัมต่อต้น ต้นมะม่วงขนาดใหญ่ (ขนาดทรงพุ่ม 5 เมตร)

                  ใส่อัตรา 25 กิโลกรัมต่อต้น ร่วมกับการใช้ปุ๋ ยเคมีโดยเฉพาะธาตุอาหารหลักไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ
                  โพแทสเซียม และในบางพื้นที่ที่ดินเป็นกรดใช้หินปูนบด (CaCO ) อัตรา 500-1,100 กิโลกรัมต่อไร่ เพื่อ
                                                                       3
                  เพิ่มความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชในดิน

                        30) หน่วยที่ดินที่ 30B  30C  30D  และ30E
                          พบในสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงเนินเขา ดินลึกมาก การระบายน ้าดีปานกลางถึงดี ดิน

                  มีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกสูงและความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่

                  เป็นด่างต ่า ดินบน เนื้อดินเป็นดินร่วนปนดินเหนียว ดินล่างเนื้อดินเป็นดินเหนียว









                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง                     กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42