Page 41 - เขตการใช้ที่ดินพิชเศรษฐกิจมะม่วง
P. 41

2-25





                  ใส่อัตรา 35 กิโลกรัมต่อต้น ร่วมกับการใช้ปุ๋ ยเคมีโดยเฉพาะธาตุอาหารหลักไนโตรเจน ฟอสฟอรัส

                  และโพแทสเซียม


                        37) หน่วยที่ดินที่  37  37I   37b  37B  37Bb  37BbI  37Bgm  37BgmI  37bI  37BI  37C  37D
                  37gm  และ  37gmI


                          พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนชัน ดินลึกมาก การระบายน ้า
                  ค่อนข้างเลวถึงดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต ่า ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต ่าปานกลางถึงต ่ามากและ

                  ความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็นด่างต ่า ดินบน เนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย ดินทรายปนดินร่วนหรือ

                  ดินร่วนปนทรายแป้ง ดินล่าง เนื้อดินเป็นดินร่วนปนดินเหนียว ดินร่วนเหนียวปนทราย ดินร่วน
                  เหนียวปนทรายแป้งหรือดินเหนียว


                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต ่า และหน้าดินค่อนข้างเป็น

                  ทรายหนา ท าให้มีความสามารถในการอุ้มน ้าต ่า พืชอาจขาดแคลนน ้าในระยะฝนทิ้งช่วงเป็นเวลานาน
                  ส าหรับบริเวณที่มีความลาดชันสูงอาจเกิดปัญหาการชะล้างพังทลายของหน้าดิน ดินกลุ่มนี้ใช้ปลูกพืชไร่

                  ต่างๆ เช่น อ้อย ข้าวโพด ถั่ว สับปะรด และไม้ผลบางชนิด

                        แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจมะม่วง ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ ยอินทรีย์หรือ
                  ปุ๋ ยหมัก โดยต้นมะม่วงขนาดเล็กใส่อัตรา 20 กิโลกรัมต่อต้น ต้นมะม่วงขนาดใหญ่ (ขนาดทรงพุ่ม 5 เมตร)

                  ใส่อัตรา 35 กิโลกรัมต่อต้น ร่วมกับการใช้ปุ๋ ยเคมีโดยเฉพาะธาตุอาหารหลักไนโตรเจน ฟอสฟอรัส

                  และโพแทสเซียม
                        38) หน่วยที่ดินที่  38   38I  38b   38B   38Bb  38BI  38bI  38BbI  38BIM  38M  38BM  และ38IM

                          พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย ดินลึกมาก การ
                  ระบายน ้าค่อนข้างเลวถึงดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกปานกลาง

                  ถึงค่อนข้างสูงและความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็นด่างค่อนข้างต ่าถึงปานกลาง ดินบน เนื้อดินเป็นดิน
                  ทรายปนดินร่วนถึงดินร่วนปนทรายถึงดินร่วนหรือดินร่วนปนทรายแป้ง ดินล่างเนื้อดินเป็นดิน

                  ร่วนปนทราย ดินร่วนเหนียวปนทรายถึงดินร่วนหรือดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง

                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่เนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย ท าให้มีความสามารถในการ
                  อุ้มน ้าค่อนข้างต ่า บางพื้นที่อาจมีน ้าท่วมขังหรือไหลบ่าท่วมขังอย่างฉับพลันในระยะฝนตกหนักอาจ

                  ท าให้พืชที่ปลูกได้รับความเสียหาย ในพื้นที่มีความลาดชันสูงอาจเกิดปัญหาการชะล้างพังทลายของ

                  หน้าดิน

                          แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจมะม่วง ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ ยอินทรีย์
                  หรือปุ๋ ยหมัก โดยต้นมะม่วงขนาดเล็กใส่อัตรา 25 กิโลกรัมต่อต้น ต้นมะม่วงขนาดใหญ่ (ขนาดทรงพุ่ม 5








                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง                     กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46