Page 46 - เขตการใช้ที่ดินพิชเศรษฐกิจมะม่วง
P. 46

2-30





                  อย่างรุนแรง ดินกลุ่มนี้ส่วนใหญ่ เป็นป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรังหรือป่าละเมาะ บางแห่งใช้ท าไร่เลื่อนลอย

                  หรือปลูกป่าทดแทน

                          แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจมะม่วง เนื่องจากดินกลุ่มนี้เป็นดินตื้นถึง

                  ชั้นหินพื้น ซึ่งจะพบชั้นหินพื้นภายในความลึก 50 เซนติเมตร ท าให้การหยั่งลึกของรากพืชมีอุปสรรค
                  มาก จึงไม่เหมาะสมส าหรับการปลูกมะม่วงและไม่แนะน าให้ปลูกมะม่วงในกลุ่มชุดดินนี้ แต่ถ้า

                  จ าเป็นต้องใช้ปลูกมะม่วง จะต้องปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ ยอินทรีย์หรือปุ๋ ยหมัก โดยต้นมะม่วงขนาด

                  เล็กใส่อัตรา 25 กิโลกรัมต่อต้น ต้นมะม่วงขนาดใหญ่ (ขนาดทรงพุ่ม 5 เมตร) ใส่อัตรา 50 กิโลกรัมต่อ
                  ต้น ร่วมกับการใช้ปุ๋ ยเคมีโดยเฉพาะธาตุอาหารหลักไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม และใน

                  บางพื้นที่ที่ดินเป็นกรดใช้หินปูนบด (CaCO ) อัตรา 200 กิโลกรัมต่อไร่ เพื่อเพิ่มความเป็นประโยชน์
                                                       3
                  ของธาตุอาหารพืชในดิน

                        48) กลุ่มชุดดินที่ 48 48B  48BM  48DM  48Bb  48BI  48C  48D  48E  48gm  48gmM 48BM
                  48DM  48BIM  48BM  48CM  และ48M

                          พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา ดินตื้น การระบายน ้าดีปานกลางถึงดี
                  ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต ่า ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต ่าปานกลางถึงต ่ามาก  และความอิ่มตัว

                  ด้วยประจุบวกที่เป็นด่างต ่า ดินบนเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทรายปนกรวด ดินล่าง เนื้อดินเป็นดิน
                  ร่วนเหนียวปนทรายปนกรวดมากถึงชั้นหินพื้น

                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เป็นดินตื้นมาก บริเวณที่มีความลาดชันสูงจะเกิดปัญหา

                  การชะล้างพังทลายได้ง่าย และดินมีความอุดมสมบูรณ์ต ่า ดินกลุ่มนี้ส่วนใหญ่เป็นป่าเบญจพรรณ ป่าเต็ง
                  รัง ป่าละเมาะ และทุ่งหญ้าธรรมชาติ บางแห่งใช้ปลูกพืชไร่หรือไม้โตเร็ว

                          แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจมะม่วง เนื่องจากดินกลุ่มนี้เป็นดินตื้นถึง

                  ชั้นหินพื้น ซึ่งจะพบชั้นหินพื้นหรือก้อนกรวดและลูกรังภายในความลึก 50 เซนติเมตร ท าให้การหยั่ง

                  ลึกของรากพืชมีอุปสรรคมาก จึงไม่เหมาะสมส าหรับการปลูกมะม่วงและไม่แนะน าให้ปลูกมะม่วงใน
                  กลุ่มชุดดินนี้ แต่ถ้าจ าเป็นต้องใช้ปลูกมะม่วง จะต้องปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ ยอินทรีย์หรือปุ๋ ยหมัก

                  โดยต้นมะม่วงขนาดเล็กใส่อัตรา 25 กิโลกรัมต่อต้น ต้นมะม่วงขนาดใหญ่ (ขนาดทรงพุ่ม 5 เมตร) ใส่อัตรา

                  50 กิโลกรัมต่อต้น ร่วมกับการใช้ปุ๋ ยเคมีโดยเฉพาะธาตุอาหารหลักไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม

                  และในบางพื้นที่ที่ดินเป็นกรดใช้หินปูนบด (CaCO ) อัตรา 200-300 กิโลกรัมต่อไร่ เพื่อเพิ่มความ
                                                               3
                  เป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชในดิน


                        49) หน่วยที่ดินที่ 49  49B 49Bb 49C  และ 49D 49sheet 49BM 49CM และ49M

                          พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนชัน ดินตื้น การระบายน ้าค่อนข้าง

                  เลวถึงดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต ่า ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกปานกลางถึงค่อนข้างสูงและความ





                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง                     กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51