Page 49 - เขตการใช้ที่ดินพิชเศรษฐกิจมะม่วง
P. 49

2-33





                  ใส่อัตรา 25 กิโลกรัมต่อต้น ต้นมะม่วงขนาดใหญ่ (ขนาดทรงพุ่ม 5 เมตร) ใส่อัตรา 50 กิโลกรัมต่อต้น

                  ร่วมกับการใช้ปุ๋ ยเคมีโดยเฉพาะธาตุอาหารหลักไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม

                        53) หน่วยที่ดินที่ 53  53I 53B 53BI 53C  53CI 53D  และ 53E
                          พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา ดินลึกปานกลาง การระบายน ้าดี ดินมี

                  ความอุดมสมบูรณ์ต ่า ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกปานกลางถึงค่อนข้างสูงและความอิ่มตัวด้วย

                  ประจุบวกที่เป็นด่างต ่า ดินบนเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียว ดินล่างเนื้อดินเป็นดินเหนียวถึงดินเหนียว
                  ปนกรวดมาก

                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ ดินลึกปานกลาง พบชั้นก้อนกรวดหรือลูกรังในระดับ

                  ความลึก 50-100 เซนติเมตร จากผิวดิน และดินมีความอุดมสมบูรณ์ต ่า ในบริเวณพื้นที่มีความลาดชันสูง
                  จะเกิดการชะล้างพังทลายของหน้าดินได้ง่าย ดินกลุ่มนี้ส่วนใหญ่ใช้ปลูกยางพารา ไม้ผล กาแฟ และ

                  พืชไร่บางชนิด

                          แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจมะม่วง เนื่องจากดินกลุ่มนี้เป็นดินลึกปาน

                  กลาง จะพบชั้นก้อนกรวด หรือลูกรังภายในระดับความลึก 50-100 เซนติเมตร ท าให้การหยั่งลึกของ
                  รากพืชมีอุปสรรคค่อนข้างมาก ดังนั้นในการปลูกมะม่วงให้ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ ยอินทรีย์หรือปุ๋ ย

                  หมัก โดยต้นมะม่วงขนาดเล็กใส่อัตรา 25 กิโลกรัมต่อต้น ต้นมะม่วงขนาดใหญ่ (ขนาดทรงพุ่ม 5

                  เมตร) ใส่อัตรา 50 กิโลกรัมต่อต้น ร่วมกับการใช้ปุ๋ ยเคมีโดยเฉพาะธาตุอาหารหลักฟอสฟอรัส และ

                  โพแทสเซียม และในบางพื้นที่ที่ดินเป็นกรดใช้หินปูนบด (CaCO ) อัตรา 500 กิโลกรัมต่อไร่ เพื่อเพิ่ม
                                                                         3
                  ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชในดิน

                        54) หน่วยที่ดินที่ 54  54B 54BI 54C 54D  54gm 54BM 54CM และ54M

                          พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนชัน ดินลึกปานกลาง การระบาย
                  น ้าดีปานกลางถึงดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกและความอิ่มตัว

                  ด้วยประจุบวกที่เป็นด่างสูง ดินบนเนื้อดินเป็นดินเหนียว ดินล่างเนื้อดินเป็นดินเหนียวถึงชั้นปูนมาร์ล

                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ ดินลึกปานกลาง พบชั้นปูนมาร์ล หรือก้อนปูนภายใน
                  ความลึก 100 เซนติเมตร เนื้อดินเหนียวจัด การไถพรวนต้องท าในช่วงที่ดินมีความชื้นพอเหมาะ มิฉะนั้น

                  จะท าให้ดินแน่นทึบ บริเวณพื้นที่มีความลาดชันสูงจะเกิดการชะล้างพังทลายของหน้าดิน ดินกลุ่มนี้

                  ส่วนใหญ่นี้ใช้ปลูกพืชไร่ เช่น ข้าวโพด ข้าวฟ่าง มันส าปะหลัง ปอ และถั่ว หรือปลูกไม้ผลบางชนิด

                          แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจมะม่วง เนื่องจากดินกลุ่มนี้เป็นดินลึกปาน
                  กลาง จะพบชั้นปูนมาร์ลภายในระดับความลึก 50-100 เซนติเมตร ท าให้การหยั่งลึกของรากพืชมีอุปสรรค

                  ค่อนข้างมาก ดังนั้นในการปลูกมะม่วงให้ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ ยอินทรีย์หรือปุ๋ ยหมัก โดยต้นมะม่วง









                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง                     กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54