Page 51 - เขตการใช้ที่ดินพิชเศรษฐกิจมะม่วง
P. 51

2-35





                  หมัก โดยต้นมะม่วงขนาดเล็กใส่อัตรา 20 กิโลกรัมต่อต้น ต้นมะม่วงขนาดใหญ่ (ขนาดทรงพุ่ม 5 เมตร) ใส่

                  อัตรา 35 กิโลกรัมต่อต้น ร่วมกับการใช้ปุ๋ ยเคมีโดยเฉพาะธาตุอาหารหลักโพแทสเซียม และในบางพื้นที่

                  ที่ดินเป็นกรดใช้หินปูนบด (CaCO) อัตรา 200-700 กิโลกรัมต่อไร่ เพื่อเพิ่มความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร
                                             3
                  พืชในดิน

                        57) หน่วยที่ดินที่ 57

                          พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ ดินลึกมาก การระบายน ้าเลวมาก ดินมีความอุดม
                  สมบูรณ์ปานกลาง ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกสูงและความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็นด่างต ่า

                  ดินบนและดินล่าง เนื้อดินเป็นดินอินทรีย์ที่มีเนื้อหยาบ

                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เป็นดินอินทรีย์ มีเนื้อดินเป็นเศษชิ้นส่วนของพืชสะสม

                  หนาปานกลาง เมื่อแห้งจะยุบตัว และปฏิกิริยาดินจะเป็นกรดรุนแรงมาก ท าให้ขาดธาตุอาหารพืชอย่าง
                  รุนแรง พบในบริเวณที่ลุ่มต ่า มีน ้าแช่ขังอยู่ตลอดเวลา ดินกลุ่มนี้ตามสภาพธรรมชาติจะปกคลุมไปด้วย

                  ป่าพรุ จึงไม่เหมาะสมส าหรับปลูกมะม่วงและไม่แนะน าให้ปลูกมะม่วง

                        58) หน่วยที่ดินที่ 58
                           พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ ดินลึกมาก การระบายน ้าเลวมาก ดินมีความอุดม

                  สมบูรณ์ปานกลาง ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกสูงและความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็นด่างต ่า

                  ดินบนและดินล่าง เนื้อดินเป็นดินอินทรีย์ที่มีเนื้อหยาบ
                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เป็นดินอินทรีย์ เนื้อดินเป็นเศษชิ้นส่วนของพืชสะสม

                  หนา และเป็นกรดจัดมาก มีน ้าท่วมขังเกือบตลอดปี จึงไม่เหมาะสมส าหรับปลูกมะม่วงและไม่แนะน าให้

                  ปลูกมะม่วง

                        59) หน่วยที่ดินที่ 59 59I 59IM2 และ 59M2
                           พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ ดินลึกมาก การระบายน ้าค่อนข้างเลว ดินมีความ

                  อุดมสมบูรณ์ต ่า ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต ่าปานกลางถึงต ่ามากและความอิ่มตัวด้วยประจุ
                  บวกที่เป็นด่างค่อนข้างต ่าถึงปานกลาง ดินบน เนื้อดินเป็นดินร่วนหรือร่วนเหนียวปนทรายหรือ

                  ร่วนปนทราย ดินล่างเนื้อดินเป็นดินเหนียวหรือร่วนเหนียวปนทรายหรือร่วนปนทรายหรือดิน

                  เหนียวปนทราย
                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน เนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย ความอุดมสมบูรณ์ต ่า เสี่ยงต่อการ

                  ขาดแคลนน ้า ดินมีการระบายน ้าเลวถึงค่อนข้างเลว ท าให้มีน ้าท่วมขังในช่วงฤดูฝน ดินกลุ่มนี้ปกติใช้ท านา

                          แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจมะม่วง เนื่องจากดินกลุ่มนี้มีปัญหาการระบาย

                  น ้าค่อนข้างเลวถึงเลว และเสี่ยงต่อน ้าท่วมขังเป็นระยะเวลานานโดยเฉพาะในช่วงฤดูฝน ในการปลูก
                  มะม่วงควรยกร่องปลูกเพื่อช่วยระบายน ้าและป้องกันน ้าท่วม และปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ ยอินทรีย์หรือ







                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง                     กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56