Page 52 - เขตการใช้ที่ดินพิชเศรษฐกิจมะม่วง
P. 52

2-36





                  ปุ๋ ยหมัก โดยต้นมะม่วงขนาดเล็กใส่อัตรา 20 กิโลกรัมต่อต้น ต้นมะม่วงขนาดใหญ่ (ขนาดทรงพุ่ม 5 เมตร)

                  ใส่อัตรา 35 กิโลกรัมต่อต้น

                        60) หน่วยที่ดินที่ 60 60I 60B 60BI 60C และ 60D
                          พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนชัน ดินลึกมาก การระบายน ้า

                  ค่อนข้างเลวถึงดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต ่า ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกปานกลางถึงค่อนข้างสูง

                  และความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็นด่างค่อนข้างต ่าถึงปานกลาง ดินบนและดินล่าง เนื้อดินเป็นดิน
                  ร่วนเหนียวหรือดินทรายปนดินร่วนหรือดินร่วนปนทราย

                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน บางพื้นที่ดินค่อนข้างเป็นทราย และมีความอุดมสมบูรณ์ต ่า

                  และอาจเกิดการขาดแคลนน ้าในระยะฝนทิ้งช่วง ดินกลุ่มนี้ปกติใช้ปลูกพืชไร่ ไม้ผล และไม้ยืนต้นต่างๆ

                          แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจมะม่วง ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ ยอินทรีย์
                  หรือปุ๋ ยหมัก โดยต้นมะม่วงขนาดเล็กใส่อัตรา 20 กิโลกรัมต่อต้น ต้นมะม่วงขนาดใหญ่ (ขนาดทรงพุ่ม 5 เมตร)

                  ใส่อัตรา 35 กิโลกรัมต่อต้น

                        61) หน่วยที่ดินที่ 61 61B 61C และ 61D
                          พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนชัน ดินตื้น การระบายน ้าดี ดินมี

                  ความอุดมสมบูรณ์ต ่า ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต ่าปานกลางถึงต ่ามากและความอิ่มตัวด้วย

                  ประจุบวกที่เป็นด่างต ่า ดินบน เนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย ดินล่าง เนื้อดินเป็นดินร่วนปนทรายถึง
                  ชั้นหินพื้น

                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ดินกลุ่มนี้มีการใช้ประโยชน์ในการท าไร่เลื่อนลอย บริเวณที่

                  มีความลาดชันสูงอาจเกิดปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน เนื่องจากมีการใช้ประโยชน์ที่ดินโดยปราศจาก
                  มาตรการในการอนุรักษ์ดินและน ้า จึงไม่เหมาะสมส าหรับปลูกมะม่วงและไม่แนะน าให้ปลูกมะม่วง

                        62) กลุ่มชุดดินที่ 62 และ62M

                          กลุ่มดินนี้ประกอบด้วยพื้นที่ภูเขาและเทือกเขาซึ่งมีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์

                  ลักษณะและสมบัติของดินที่พบไม่แน่นอน มีทั้งดินลึกและดินตื้น ลักษณะของเนื้อดินและความอุดม
                  สมบูรณ์ตามธรรมชาติแตกต่างกันไปแล้วแต่ชนิดของหินต้นก าเนิดในบริเวณนั้น มักมีเศษหิน ก้อนหิน

                  หรือพื้นโผล่กระจัดกระจายทั่วไป ส่วนใหญ่ยังปกคลุมด้วยป่าไม้ประเภทต่างๆ เช่น ป่าเบญจพรรณ

                  ป่าเต็งรังหรือป่าดงดิบชื้น หลายแห่งมีการท าเกษตรกรรมประเภทท าโดยปราศจากมาตรการในการ
                  อนุรักษ์ดินและน ้า ซึ่งเป็นผลท าให้เกิดการชะล้างพังทลายของหน้าดิน จนบางแห่งเหลือแต่หินโผล่ ดิน

                  กลุ่มนี้ไม่ควรน ามาใช้ประโยชน์ทางการเกษตร เนื่องจากมีปัญหาหลายประการที่มีผลกระทบต่อระบบนิเวศ

                  ควรสงวนไว้เป็นป่าตามธรรมชาติเพื่อรักษาแหล่งต้นน ้าล าธาร








                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง                     กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57