Page 50 - เขตการใช้ที่ดินพิชเศรษฐกิจมะม่วง
P. 50

2-34





                  ขนาดเล็กใส่อัตรา 25 กิโลกรัมต่อต้น ต้นมะม่วงขนาดใหญ่ (ขนาดทรงพุ่ม 5 เมตร) ใส่อัตรา 50 กิโลกรัม

                  ต่อต้น ร่วมกับการใช้ปุ๋ ยเคมีโดยเฉพาะธาตุอาหารหลักไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม

                        55) หน่วยที่ดินที่ 55  55I 55b 55B 55Bb 55BbI 55bI 55BI 55C 55CI  55D  55E 55gm
                  55gm,d3c 55gmI 55BIM 55BM 55CIM 55CM 55gm,d3cM 55gmM 55M 55bM และ55BIM

                          พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา ดินลึกปานกลาง การระบายน ้าค่อนข้าง

                  เลวถึงดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกสูงและความอิ่มตัวด้วย
                  ประจุบวกที่เป็นด่างค่อนข้างต ่าถึงปานกลาง ดินบนเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียว ดินล่าง เนื้อดินเป็น

                  ดินเหนียวถึงดินเหนียวปนกรวดมาก

                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เป็นดินลึกปานกลาง พบก้อนปูนมาร์ลหรือหินผุใน
                  ระดับความลึก 50-100 เซนติเมตร และดินมีโครงสร้างแน่นทึบยากต่อการไชชอนของรากพืช ในพื้นที่

                  มีความลาดชันสูงจะเกิดการชะล้างพังทลายของหน้าดิน ดินกลุ่มนี้ส่วนใหญ่นี้ใช้ปลูกพืชไร่บางชนิด

                  เช่น ข้าวโพด มันส าปะหลัง กล้วย บางแห่งเป็นป่าละเมาะ หญ้าเพ็ก และไผ่

                          แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจมะม่วง เนื่องจากดินกลุ่มนี้เป็นดินลึกปาน
                  กลาง จะพบก้อนปูนมาร์ลหรือหินผุภายในระดับความลึก 50-100 เซนติเมตร ท าให้การหยั่งลึกของราก

                  พืชมีอุปสรรคค่อนข้างมาก ดังนั้นในการปลูกมะม่วงให้ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ ยอินทรีย์หรือปุ๋ ยหมัก

                  โดยต้นมะม่วงขนาดเล็กใส่อัตรา 20 กิโลกรัมต่อต้น ต้นมะม่วงขนาดใหญ่ (ขนาดทรงพุ่ม 5 เมตร)

                  ใส่อัตรา 35 กิโลกรัมต่อต้น ร่วมกับการใช้ปุ๋ ยเคมีโดยเฉพาะธาตุอาหารหลักไนโตรเจนและโพแทสเซียม

                        56) หน่วยที่ดินที่ 56  56I 56b 56B 56BI 56Bb 56C 56CI 56D 56E 56gm  56gmI 56M 56BM

                  56BIM 56CM 56CIM 56DM 56gmM 56gmIM และ56IM
                          พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา ดินลึกปานกลาง การระบายน ้าดี

                  ปานกลางถึงดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต ่า ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต ่าปานกลางถึงต ่ามาก

                  และความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็นด่างต ่า ดินบนเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย ดินล่างเนื้อดินเป็น
                  ดินร่วนเหนียวปนทราย

                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เป็นดินลึกปานกลาง ดินมีความอุดมสมบูรณ์ค่อนข้างต ่า

                  และอาจเกิดการชะล้างพังทลายได้ง่าย ถ้าปลูกพืชในบริเวณที่มีความลาดชันมาก โดยไม่มีการอนุรักษ์ดิน
                  และน ้าที่เหมาะสม บางพื้นที่ดินเป็นกรดจัดมาก ดินกลุ่มนี้ส่วนใหญ่ใช้ปลูกพืชไร่ เช่น อ้อย ข้าวโพด

                  มันส าปะหลัง เป็นต้น

                          แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจมะม่วง เนื่องจากดินกลุ่มนี้เป็นดินลึกปาน
                  กลาง จะพบชั้นก้อนกรวด หรือลูกรังภายในระดับความลึก 50-100 เซนติเมตร ท าให้การหยั่งลึกของ

                  รากพืชมีอุปสรรคค่อนข้างมาก ดังนั้นในการปลูกมะม่วงให้ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ ยอินทรีย์หรือปุ๋ ย






                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง                     กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55