Page 44 - เขตการใช้ที่ดินพิชเศรษฐกิจมะม่วง
P. 44

2-28






                        43) หน่วยที่ดินที่ 43 43I 43B 43BI 43C  43gm และ 43gmI
                          พ บ ในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด ดินลึกมาก

                  การระบายน ้าดีถึงค่อนข้างมาก ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต ่า ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต ่าปานกลาง

                  ถึงต ่ามากและความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็นด่างต ่า ดินบนและดินล่าง เนื้อดินเป็นดินทรายปนดิน
                  ร่วน

                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เนื้อดินเป็นทรายจัด ท าให้มีความสามารถในการอุ้มน ้าต ่า

                  มาก พืชจะแสดงอาการขาดน ้าอยู่เสมอ นอกจากนี้ดินยังมีความอุดมสมบูรณ์ต ่ามาก กลุ่มชุดดินนี้ใช้ปลูกพืช

                  ไร่ เช่น มันส าปะหลัง สับปะรด ปอ ส่วนไม้ยืนต้น ได้แก่ มะพร้าว และมะม่วงหิมพานต์ บางแห่งเป็นป่า
                  ละเมาะหรือทุ่งหญ้าธรรมชาติ

                          แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจมะม่วง เนื่องจากดินกลุ่มนี้เป็นดินทรายจัด

                  และพบบริเวณชายฝั่งทะเล ซึ่งไม่เหมาะสมส าหรับปลูกมะม่วง จึงไม่แนะน าให้ปลูกมะม่วง
                        44) หน่วยที่ดินที่ 44  44I 44b 44B 44Bb 44Bd3c 44BI 44bI 44C 44Cd3c 4CI 44D

                  44BIM 44BM และ44CM

                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เนื้อดินเป็นทรายจัดและหนามาก พืชมีโอกาสขาดน ้าได้
                  ง่าย ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต ่าและโครงสร้างไม่ดี บริเวณที่มีความลาดชันจะมีปัญหาเกี่ยวกับการชะ

                  ล้างพังทลายของหน้าดินได้ง่าย ดินกลุ่มนี้ใช้ปลูกพืชไร่ต่างๆ เช่น มันส าปะหลัง อ้อย สับปะรด ปอ

                  ส่วนไม้ยืนต้น ได้แก่ มะพร้าว และมะม่วงหิมพานต์ บางแห่งเป็นป่าเต็งรังหรือทุ่งหญ้าธรรมชาติ

                          แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจมะม่วง เนื่องจากดินกลุ่มนี้เป็นดินทราย
                  จัด ซึ่งไม่เหมาะสมส าหรับปลูกมะม่วง จึงไม่แนะน าให้ปลูกมะม่วง

                        45) หน่วยที่ดินที่ 45 45I 45B 45Bgm 45BgmI 45C 45Cgm 45D  45E 45gm  และ45gmI

                          พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา ดินตื้น การระบายน ้าค่อนข้างเลวถึงดี
                  ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต ่า ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต ่าปานกลางถึงต ่ามากและความอิ่มตัวด้วย

                  ประจุบวกที่เป็นด่างต ่า ดินบน เนื้อดินเป็นดินร่วนหรือดินร่วนเหนียวปนกรวด ดินล่าง เนื้อดินเป็น

                  ดินเหนียวปนกรวดมาก
                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เป็นดินตื้นถึงชั้นลูกรัง พบเศษหินก้อนกรวด หรือ

                  ลูกรังภายในระดับความลึก 50 เซนติเมตรจากผิวดิน มีความอุดมสมบูรณ์ต ่า บริเวณที่มีความลาดชันสูง

                  จะมีปัญหาเกี่ยวกับการชะล้างพังทลายของหน้าดินได้ง่าย ดินกลุ่มนี้ใช้ปลูกยางพารา มะพร้าวหรือไม้

                  ผลบางชนิด บางแห่งเป็นที่รกร้างว่างเปล่าหรือทุ่งหญ้าธรรมชาติ
                          แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจมะม่วง เนื่องจากดินกลุ่มนี้เป็นดินตื้นถึง

                  ชั้นก้อนกรวด หรือลูกรัง ท าให้การหยั่งลึกของรากพืชมีอุปสรรคมาก จึงไม่เหมาะสมส าหรับปลูก






                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง                     กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49