Page 36 - เขตการใช้ที่ดินพิชเศรษฐกิจมะม่วง
P. 36

2-20





                  กรดใช้หินปูนบด (CaCO ) อัตรา 200-300 กิโลกรัมต่อไร่ เพื่อเพิ่มความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร
                                       3
                  พืชในดิน

                        26) หน่วยที่ดินที่  26  26I  26B  26BI   26C  26CI  26D  26E   26Bgm  26BgmI  26gm
                   และ26gmI

                          พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา ดินลึกมาก การระบายน ้าค่อนข้างเลว

                  ถึงดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต ่ามากถึงต ่าปานกลางและ
                  ความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็นด่างต ่า ดินบนและดินล่าง เนื้อดินเป็นดินเหนียว

                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ บางบริเวณอาจพบดินมีความอุดมสมบูรณ์ต ่าและดิน

                  เป็นกรดจัดมาก ในบริเวณพื้นที่มีความลาดชันสูง จะมีอัตราเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายของดินสูง หาก
                  มีการจัดการดินไม่เหมาะสม ดินกลุ่มนี้ใช้ปลูกยางพารา ไม้ผลต่างๆ และพืชไร่บางชนิด บางแห่งยังคง

                  สภาพป่าธรรมชาติ

                          แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจมะม่วง ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ ยอินทรีย์

                  หรือปุ๋ ยหมัก โดยต้นมะม่วงขนาดเล็กใส่อัตรา 15 กิโลกรัมต่อต้น ต้นมะม่วงขนาดใหญ่ (ขนาดทรงพุ่ม 5
                  เมตร) ใส่อัตรา 25 กิโลกรัมต่อต้น ร่วมกับการใช้ปุ๋ ยเคมีโดยเฉพาะธาตุอาหารหลักฟอสฟอรัสและ

                  โพแทสเซียม และในบางพื้นที่ที่ดินเป็นกรดใช้หินปูนบด (CaCO ) อัตรา 500-1,100 กิโลกรัมต่อไร่
                                                                          3
                  เพื่อเพิ่มความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชในดิน

                        27) หน่วยที่ดินที่  27  27B  27BI  27C  27CI  และ27D
                          พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนชัน ดินลึกมาก การระบายน ้าดี

                  ดินมีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต ่ามากถึงต ่าปานกลางและ

                  ความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็นด่างต ่า ดินบนและดินล่างเนื้อดินเป็นดินเหนียว
                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่การขาดแคลนน ้าได้ง่ายโดยเฉพาะในระยะฝนทิ้งช่วง

                  และบางพื้นที่ดินเป็นกรดจัดมาก ในบริเวณที่มีความลาดชัน อาจเกิดปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน

                          แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจมะม่วง ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ ยอินทรีย์หรือ
                  ปุ๋ ยหมัก โดยต้นมะม่วงขนาดเล็กใส่อัตรา 15 กิโลกรัมต่อต้น ต้นมะม่วงขนาดใหญ่ (ขนาดทรงพุ่ม 5 เมตร)

                  ใส่อัตรา 25 กิโลกรัมต่อต้น ร่วมกับการใช้ปุ๋ ยเคมีโดยเฉพาะธาตุอาหารหลักฟอสฟอรัส และ

                  โพแทสเซียม และในบางพื้นที่ที่ดินเป็นกรดใช้หินปูนบด (CaCO ) อัตรา 500 กิโลกรัมต่อไร่ เพื่อเพิ่ม
                                                                         3
                  ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชในดิน















                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง                     กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41