Page 130 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 130

4-10






                               3. ควรมีการขุดลอกคลอง หรือเพิ่มทอลอดตามถนนสายหลักที่สรางขวางทางเดินของน้ำ

                                                                                                   ั
                                                                                               
                                                                                     ี่
                  เพื่อใหการระบายน้ำเปนไปอยางรวดเร็ว และการปลูกไมผลหรือพืชผักในพื้นที่ลุมทเสี่ยงตอน้ำทวมขงตอง
                  มีการยกรองเพื่อปลูกพืช
                               4. ติดตามขาวสารของทางราชการอยางสม่ำเสมอโดยเฉพาะจากกรมชลประทาน
                                      
                                                                                                    ี่
                                                    
                                                                                              ื
                                                                                    ี่
                  เพื่อรับทราบสถานการณของปริมาณน้ำทาในแตละป เพื่อใหสามารถกำหนดพื้นทเพาะปลูกพชครั้งทสอง
                  ไดอยางเหมาะสมกบปริมาณน้ำที่ไดรับ
                                  ั
                             2) เขตเกษตรกรรมเชิงอนุรักษนอกเขตชลประทาน (หนวยแผนที่ B222)
                                                                                                  ี
                                                                   ื้
                                เขตนี้กำหนดใหเปนเขตเกษตรกรรมนอกพนที่ชลประทาน (หนวยแผนที่ B222) มเนื้อท  ี่
                  79,541 ไร หรือรอยละ 3.00 ของพื้นที่ศึกษา เปนเขตเกษตรกรรมเชิงอนุรักษรอบพื้นที่ชุมน้ำ พื้นท  ี ่
                  ในเขตนี มีการใชประโยชนเพื่อทำการเกษตรโดยอาศัยน้ำฝนเปนหลัก ไดแก การปลูกพืชไร ไมยืนตน ไมผล
                         ้
                                     ี
                                     ่
                  และพืชผัก โดยมีพื้นทปลูกขาวเพียงเล็กนอย มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงพื้นที่ลาดชันเชิงซอน
                  ดินที่พบในพื้นที่ศึกษาสวนใหญเปนพื้นที่ดอน ลักษณะดินเปนดินลึกปานกลางถึงลึกมาก มีบางพื้นท  ่ ี
                  ที่เปนดินตื้น พื้นที่สวนใหญมีการระบายน้ำดี การใชประโยชนที่ดินบริเวณดังกลาวนี้สวนใหญ
                  ใชในการปลูกพืชไร เชน สับปะรด ออยโรงงาน ขาวโพด เปนตน รองลงมาเปนพื้นที่ปลูกไมยืนตน เชน
                  ยางพารา ปาลมน้ำมัน ยูคาลิปตัส เปนตน บางพื้นที่ใชในการปลูกไมผล เชน กลวย มะมวง มะนาว
                  ทุเรียน เปนตน และในพื้นที่บริเวณที่มีแหลงน้ำที่เพียงพอ เกษตรกรจะใชพื้นที่เพื่อทำไรนาสวนผสมหรือ

                                
                  เกษตรทฤษฎีใหม และจากการประเมินความเหมาะสมของดินทางกายภาพสำหรับการปลูกพืชในเขตนี      ้
                  พบวาสวนใหญอยูในระดับความเหมาะสมปานกลาง ซึ่งอาจมีขอจำกัดบางประการในการใชที่ดิน
                  เชน ดินตื้น ดินคอนขางเปนทราย เปนตน แตเกษตรกรมีการจัดการพื้นที่ไดเปนอยางดี จึงไมจัดเปน
                  พื้นที่ที่มีขอจำกัดหรือพื้นที่ดินปญหามากนัก พื้นที่เขตเกษตรกรรมเชิงอนุรักษนอกเขตชลประทานนี  ้

                                                                                    ่
                                                                                    ี
                                           ื่
                                      ี่
                  สามารถแบงพื้นทการใชทดินเพอการผลิตตามศักยภาพและความเหมาะสมของทดิน ไดดังนี้
                                ี่
                                (1) พื้นที่ปลูกพืชไร
                                                                                             
                                                                                                 
                                  มีเนื้อที่ 35,220 ไร หรือรอยละ 44.28 ของพื้นทศกษา มีสภาพพื้นทนี้คอนขางเรียบ
                                                                                          ี่
                                                                           ึ
                                                                          ี่
                  ถึงพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด ดินที่พบสวนใหญเปนดินลึกปานกลางถึงดินลึก ดินมีความอุดมสมบูรณ  
                                                                                 ี
                                                                                 ่
                                                                                  ิ
                             ิ
                  ตามธรรมชาตระดับต่ำถึงปานกลาง มีการระบายน้ำดีถึงดีเกินไป สภาพการใชทดนในปจจุบันใชในการปลูก
                   ื
                                    
                                              
                  พชไร เชน สับปะรด ออยโรงงาน ขาวโพด มันสำปะหลัง เปนตน พื้นที่เขตนี้กำหนดใหเปนเขตเกษตรกรรม
                  เพื่อการปลูกพืชไรที่อาศัยน้ำฝนเปนหลัก จากการประเมินคุณภาพที่ดินในการปลูกพช พบวาพื้นที่เขตนี  ้
                                                                                       ื
                  สวนใหญเหมาะสมปานกลางตอการปลูกพืชไร หากในอนาคตมีการพัฒนาแหลงน้ำ เกษตรกรสามารถ
                                                                        
                  สามารถปรับเปลี่ยนการใชที่ดินจากการปลูกพืชไรมาเปนการปลูกไมผลหรือพืชผักได
                                   ขอเสนอแนะในการใชพื้นท  ี่
                                  - ควรมีการจัดการดินเพื่อการเพาะปลูก มีการดูแลรักษาหนาดินโดยการปลูกพช
                                                                                                      ื
                  คลุมดิน เพื่อปองกันการสูญเสียหนาดิน การชะลางหนาดินลงสูพื้นที่ชุมน้ำ และควรปรับรูปแบบการใช
                  ประโยชนที่ดินจากการปลูกพืชลมลุก มาเปนการปลูกไมผลหรือพืชผัก
                                  - ควรมีการวางแผนการเพาะปลูก มีการทำปฏิทินการเพาะปลูก และเลือกทำ
                  การเพาะปลูกพืชในชวงระยะเวลาที่ดินมีความชื้นที่เหมาะสมสำหรับการเจริญเติบโตของพืชชนิดตาง ๆ
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135