Page 125 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 125

4-5






                                8) องคการบริหารสวนจังหวัด และองคการบริหารสวนตำบล มีการจัดการควบคุมการทง ิ ้

                  และกำจัดสิ่งปฏิกูล ขยะมูลฝอย และน้ำเสียจากชุมชน ใหเปนระบบและมีประสิทธิภาพ และสงเสริม
                  ประชาสัมพันธและสรางความตระหนักใหชุมชนและนักทองเที่ยวหามทงขยะและสิ่งปฏิกลลงสูแหลงน้ำ
                                                                                        ู
                                                                           ิ้
                                                               
                  4.2  เขตรกษาสมดุลสภาพแวดลอมนอกเขตพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติ
                             ั
                                                                           ี
                                                                                ้
                                                                           ่
                              ี
                              ่
                        มีเนื้อท 755,562 ไร หรือรอยละ 28.48 ของพื้นที่ศึกษา พื้นทเขตนีอยูนอกเขตที่มีการประกาศ
                                                                                                  ุ
                  เปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติ เปนพื้นที่ที่อยูในรัศมี 5 กิโลเมตร รอบพื้นที่ชุมน้ำอทยาน
                  แหงชาติแกงกระจานที่คณะทำงานตองการศึกษา ประกอบดวย เขตคุมครองสภาพปา เขตฟนฟูสภาพปา
                        
                  อนุรักษ เขตฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติภายใตเงื่อนไขในเขตปาไมเพื่อการอนุรักษ เขตบำรุงรักษา
                  สภาพปาเพื่อเศรษฐกิจ เขตฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติภายใตเงื่อนไขในเขตปาไมเพื่อเศรษฐกิจ เขต
                                                               ้
                  เกษตรกรรมเชิงอนุรักษนอกเขตชลประทาน เขตเพาะเลียงสัตวน้ำ เขตปศสัตว เขตชุมชนและสิงปลูกสราง
                                     
                                                                                              ่
                                                                             ุ
                          ี่
                  และพื้นทแหลงน้ำ โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                     
                        4.2.1 เขตปาไมตามกฎหมาย เนื้อที่ 572,389 ไร หรือรอยละ 21.57 ของพื้นที่ศึกษา โดย
                  มีรายละเอียด ดังนี้
                             1)  เขตปาไมเพื่อการอนุรักษ มีเนื้อที่ 401,389 ไร หรือรอยละ 15.12 ของพื้นที่ศึกษา
                                                      
                          
                  ประกอบดวยเขตยอยตาง ๆ ดังนี้
                                    
                                (1) เขตคุมครองสภาพปา (หนวยแผนที่ B111) มีเนื้อที่ 376,513 ไร หรือรอยละ 14.19
                                                                      ื่
                                                 
                                                          ี่
                                                                                          ั
                                ื้
                       ื้
                  ของพนทศกษา พนที่เขตนี้อยูภายใตขอกำหนดทตองสงวนไวเพอการอนุรักษ ประกอบกบสภาพปจจุบัน
                           ึ
                         ี่
                  ยังคงเปนปาไมที่สมบูรณ หรือปาละเมาะบางสวน นอกจากนี้ยังรวมถึงพื้นที่สวนปาตาง ๆ ซึ่งสวนใหญ 
                  พบในบริเวณที่มีความลาดชันสูง
                                   ขอเสนอแนะในการใชพื้นท  ี่
                                   จากการที่รัฐบาลมีนโยบายที่เดนชัดในการรักษาพื้นที่ปาไม โดยเฉพาะบริเวณทเปน
                                                                                                    ี่
                  ปาสมบูรณใหคงสภาพอยูเพื่อรักษาความสมดุลในระบบนิเวศวิทยาภายในพื้นที่ ดังนั้นขอเสนอแนะ
                  ในการใชพื้นที่ดังกลาวจึงควรดำเนินการดังนี้
                                   -  ควบคุมมิใหมีการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติไปใชประโยชนในรูปแบบอื่น ๆ
                                   -  ดำเนินการปองกนและปราบปรามการลักลอบตัดไมทำลายปาใหมีประสิทธิภาพ
                                                                                
                                                   ั
                  และมีผลการปฏิบัติอยางตอเนื่อง โดยดำเนินการกับผูกระทำผิดอยางเด็ดขาด
                                                                                              ื
                                                                                                 ี
                                                                                ี
                                                              ี
                                   -  ถาบริเวณนี้มีการบุกรุกพ้นท่ในภายหลัง เจาหนาท่ผูรับผิดชอบในพ้นท่ควรรีบ
                                                           ื
                  ดำเนินการปลูกปาทดแทนโดยเร็ว เพื่อปองกันการขยายพื้นที่ของการบุกรุกตอไป
                                   -  ควรสงเสริมใหราษฎรในพื้นที่และพื้นที่ขางเคียงเห็นคุณคาของทรัพยากรปาไม 
                  และมีสวนรวมในการดูแลรักษาปาไมในพื้นที่และบริเวณขางเคียง
                                   -  ภายในชุมชนควรจัดตั้งกลุมชาวบานเพื่อคอยดูแลพื้นที่ปาไมในบริเวณรอบ ๆ
                                                                                         
                                                                                                  ี่
                                                                                                ื้
                  พื้นที่ชุมน้ำ อาจมีกำนันหรือผูใหญบานของหมูบานตาง ๆ เปนประธาน เพื่อปองกันการบุกรุกพนทปาไม 
                  เพิ่มมากขึ้นในเบื้องตน กอนที่จะแจงใหเจาหนาที่ของรัฐทราบในภายหลัง
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130