Page 128 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 128

4-8






                                                                                ่
                                                                                ี
                                   -  ถาบริเวณนี้มีการบุกรุกพื้นที่ในภายหลัง เจาหนาทผูรับผิดชอบในพื้นที่ควรรีบ
                  ดำเนินการปลูกปาทดแทนโดยเร็ว เพื่อปองกันการขยายพื้นที่ของการบุกรุกตอไป
                                   -  ควรสงเสริมใหราษฎรในพื้นที่และพื้นที่ขางเคียงเห็นคุณคาของทรัพยากรปาไม 
                  และมีสวนรวมในการดูแลรักษาปาไมในพื้นที่และบริเวณขางเคียง

                                                                                         ่
                                                                                         ื
                                                                                       
                                   -  ภายในชุมชนควรจัดตั้งกลุมชาวบานเพื่อคอยดูแลพื้นที่ปาไมเพอเศรษฐกจชุมชน
                                                                                                 ิ
                                                                            ั
                                                
                          ี
                                                     
                                                ู
                                                                                                ิ่
                                                                                                      ึ้
                                                                                              
                                                                                       ื้
                                                                                         ี่
                  โดยอาจมกำนันหรือผูใหญบานของหมบานตาง ๆ เปนประธาน เพื่อปองกนการบุกรุกพนทปาไมเพมมากขน
                  ในเบื้องตน กอนที่จะแจงใหเจาหนาที่ของรัฐทราบในภายหลัง
                              (2) เขตฟนฟูสภาพปาเพื่อเศรษฐกิจ (หนวยแผนที่ B122)
                                                                                                   
                                   มีเนื้อที่ 20,865 ไร หรือรอยละ 0.79 ของพื้นที่ศึกษา เขตนี้อยูนอกเขตพื้นที่ชุมน้ำ
                                                                                       
                  ที่มีความสำคัญระดับนานาชาตแตอยูในเขตปาตามกฎหมาย พื้นที่เขตนี้อยูภายใตขอกำหนดที่ตอง
                                            ิ
                  สงวนพื้นที่เพื่อการอนุรักษปาไมในเขตพื้นที่ปาไมเพื่อการใชประโยชน ดานเศรษฐกิจ ในอดีตพื้นที่
                  บริเวณนี้เคยเปนปาไมที่สมบูรณตามธรรมชาติ ตอมามีการบุกรุกที่ดิน มีการตัดตนไมเพื่อใชประโยชน
                  และนำที่ดินมาใชดานเกษตรกรรม แตเนื่องจากขอจำกัดของลักษณะทางกายภาพของดิน และสภาพภูม ิ
                  ประเทศในเขตนี้ไมเหมาะสมสำหรับการเกษตร ทั้งนี้เนื่องจากดินที่พบสวนใหญเปนดินตื้นหรือสภาพ
                  พื้นที่มีความลาดชันเกินกวา 35 เปอรเซ็นต เมื่อดินเสื่อมโทรมลง ผลผลิตทางการเกษตรกรรมเริ่มลดลง
                           ั
                  จนไมคุมกบการลงทุน เกษตรกรที่ครอบครองที่ดินก็ปลอยใหเปนที่รกรางวางเปลา และเนื่องจากพื้นท ่ ี
                                                                                               
                  บริเวณนี้มีลูกไมของพรรณไมดั้งเดิม ซึ่งสามารถเจริญเติบโตและปรับสภาพไดระดับหนึ่ง ถาไมมกจกรรม
                                                                                                ี
                                                                                                 ิ
                  ที่จะรบกวนพื้นที่ โดยเฉพาะอยางยิ่งการใชที่ดินดังกลาวเพื่อการเกษตรกรรม สภาพปาที่เสื่อมโทรม
                  จะสามารถฟนตัวขึ้นมาเปนปาไมที่สมบูรณไดอีกครั้ง จึงควรใหพื้นที่บริเวณนี้กลับคืนสูสภาพปาตาม
                                                 
                                                                               ิ
                  ธรรมชาติดังเดิม หรือใชพื้นที่นี้ปลูกไมโตเร็วในลักษณะของสวนปาเศรษฐกจหรือปาชุมชนของเกษตรกร
                      ื้
                  ในพนท  ี่
                              ขอเสนอแนะในการใชพื้นท    ี่
                              -  กำหนดมาตรการและแนวทางในการปองกันมใหราษฎรบุกรุกพื้นที่ในเขตนี        ้
                                                                             ิ
                  เพื่อนำกลับมาใชดานการเกษตรกรรม
                              -  ควรจัดทำแนวกันไฟเพื่อปองกันไฟปาทอาจเกิดขึ้นไดจากธรรมชาติหรือกจกรรม
                                                                                                 ิ
                                                                      ี่
                  จากมนุษย เพื่อใหปาไมมีการฟนตัวตามธรรมชาติที่สมบูรณ  
                              -  ควรจัดการอบรมแนะนำใหราษฎรในพื้นทขางเคียงไดเห็นถึงคุณคาของทรัพยากรปาไม 
                                                                     ี่
                  และการมีสวนรวมในการดูแลรักษาปาไม  
                                (3) เขตฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติภายใตเงื่อนไข (หนวยแผนที่ B123)
                              มีเนื้อที่ 110,093 ไร หรือรอยละ 4.15 ของพื้นที่ศึกษา พื้นที่เขตนี้อยูนอกเขต
                                                                                                ุ
                                                                                           ื่
                             ี
                  พื้นที่ชุมน้ำที่มความสำคญระดับนานาชาติแตอยูในเขตปาตามกฎหมาย และมีการใชที่ดินเพอวัตถประสงค 
                                     ั
                                                         
                                                      
                  ตาง ๆ พื้นที่ในเขตนี้จึงเปนพื้นที่รอการพิสูจนสิทธิ ดังนั้นมาตรการการใชที่ดินดังกลาวควรเปนไปตามมต ิ
                  คณะรัฐมนตรี เรื่องมาตรการและแนวทางการแกไขปญหาที่ดินในพื้นที่ปาไม เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541
                  ซึ่งมาตรการการใชที่ดนพื้นที่ในเขตนี้อยูภายใตขอกำหนดใหเปนปาไมเพื่อการใชประโยชนดานเศรษฐกจ
                                                                                                      ิ
                                    ิ
                  ในอดีตพื้นที่บริเวณนี้เคยเปนปาไมที่สมบูรณตามธรรมชาติ ตอมามีการบุกรุกโดยการตัดตนไม
                  และนำที่ดินมาใชประโยชนดานเกษตรกรรม ไดแก พืชไรหรือไรหมุนเวียน หรือบริเวณที่เปนดนตื้น
                                                                                                   ิ
   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133