Page 131 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 131

4-11






                                                                                                      ิ
                                  - ปรับปรุงคุณภาพของดินใหมีความอุดมสมบูรณและลักษณะทางกายภาพของดน
                  ที่เหมาะสมสำหรับการปลูกพืช โดยการใชปุยอินทรียตาง ๆ เชน ปุยพืชสด ปุยคอก ซึ่งชวยในการปรับปรุง
                                    ึ้
                  โครงสรางของดินใหดีขน
                                  - ดำเนินการพัฒนาแหลงน้ำขนาดเล็กในพื้นที่เขตนี้ รวมทั้งการปรับปรุงประสิทธิภาพ

                  แหลงน้ำตามธรรมชาติ เชน เหมือง ฝาย ลำคลองสาธารณะ ใหมีการกักเก็บน้ำไดดีขึ้น
                                             
                                (2) พื้นที่ปลูกไมยืนตน
                                                                          ึ
                                  มีเนื้อที่ 22,906 ไร หรือรอยละ 22.80 ของพื้นที่ศกษา สภาพพื้นที่นี้คอนขางราบเรียบ
                                                                                              
                                                                                          
                                                                                                      ั
                  ถึงลูกคลื่นลอนลาด ดินที่พบเปนดินลึก มีการระบายน้ำดี มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดบ
                                                                  
                  ต่ำถึงปานกลาง สภาพการใชที่ดินในปจจุบันสวนใหญเปนไมยืนตน เชน ยางพารา ปาลมน้ำมน ยูคาลิปตส
                                                                                                      ั
                                                                                             ั
                  สนประดพัทธ เปนตน พื้นที่เขตนี้มีศักยภาพปานกลางสำหรับปลูกไมยืนตน หากมการปรับปรุงบำรุงดน
                                                                                     ี
                                                                           
                          ิ
                                                                                                      ิ
                                                                                             
                  และพัฒนาแหลงน้ำ จะสามารถยกระดับชั้นคุณภาพที่ดินเปนเหมาะสมสูงสำหรับปลูกไมยืนตน และ
                  เหมาะที่จะพัฒนาเพื่อการทำเกษตรทฤษฎีใหม  
                                   ขอเสนอแนะในการใชพื้นท  ี่
                                   - ควรมีการปรับปรุงบำรุงดินโดยการใชปุยอินทรีย รวมกับปุยวิทยาศาสตรใน
                  ปริมาณที่เหมาะสม เพื่อปรับโครงสรางและเพิ่มธาตุอาหารใหแกดิน
                                   - ควรแนะนำเกษตรกรใหจัดทำระบบอนุรักษดนและน้ำ เชน ปลูกหญาแฝกเพอ
                                                                                                      ่
                                                                           ิ
                                                                                                      ื
                  ปองกันการเกิดการชะลางพังทลายของหนาดิน
                                   - ควรสงเสริมและสนับสนุนใหมีการรวมกลุมของเกษตรกรแตละสายการผลิต เพื่อให
                  มการอบรมและถายทอดเทคโนโลยีการผลิตสมัยใหม การปรับปรุงขบวนการและขั้นตอนการผลิต เพื่อเปน
                   ี
                  การเพิ่มคุณภาพและผลผลิตใหสูงขึ้น

                                                            ี
                                   - ควรสงเสริมและสนับสนุนใหมการรวมกลุมของเกษตรกร เพื่อเพิ่มอำนาจการตอรอง
                                                                                                  
                  ในการขายผลผลิตใหไดราคายุติธรรม
                                   - ดำเนินการพัฒนาแหลงน้ำขนาดเล็กในพื้นที่เขตนี้ รวมทั้งการปรับปรุงประสิทธิภาพ
                  แหลงน้ำตามธรรมชาติ เชน เหมือง ฝาย ลำคลองสาธารณะ ใหมีการกักเก็บน้ำไดดีขึ้น

                               (3) พื้นที่ปลูกไมผล
                                             
                                                                                           ี
                                                                                           ่
                                  มีเนื้อที่ 113,796 ไร หรือรอยละ 20.08 ของพื้นที่ศึกษา มีสภาพพื้นทคอนขางเรียบ
                  ถึงลูกคลื่นลอนลาด ดินที่พบสวนใหญเปนดินลึกปานกลางถึงดินลึกมาก ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติ
                  ในระดับต่ำถึงปานกลาง มีการระบายน้ำที่ดี ในปจจุบันสภาพพื้นที่สวนใหญเปนพื้นที่ปลูกไมผล เชน
                                                                                                      ั
                  กลวย มะมวง ทุเรียน เปนตน พื้นที่เขตนี้กำหนดใหเปนเขตเกษตรกรรมเพื่อการปลูกไมผลโดยอาศย
                  น้ำฝนเปนหลัก พื้นที่เขตนี้มีศักยภาพปานกลางสำหรับปลูกไมผล หากมีการปรับปรุงบำรุงดิน และพัฒนา
                                                                    
                  แหลงน้ำ จะสามารถยกระดับชั้นคุณภาพที่ดินเปนเหมาะสมสูงสำหรับปลูกไมยืนตนได
                                   ขอเสนอแนะในการใชพื้นท  ี่

                                   - ดำเนินการพัฒนาแหลงน้ำขนาดเล็กในพื้นที่เขตนี้ รวมทั้งการปรับปรุงแหลงน้ำ
                  ตามธรรมชาติ เชน เหมือง ฝาย ลำคลองสาธารณะ ใหมีการกักเก็บน้ำไดดีขึ้น นอกจากนี้ควรพัฒนา
                  แหลงน้ำใตดินมาใชใหเกิดประโยชนตอการเกษตรกรรมได
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136