Page 129 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 129

4-9






                  ซึ่งไมเหมาะสมตอการใชที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมเนื่องจากขอจำกัดดังกลาว เมื่อเวลาฝนตกจึงมีแนวโนม

                  ของการเกิดการชะลางพังทลายของดินในระดับคอนขางสูง ทำใหหนาดินที่มีความอุดมสมบูรณ   
                  ตามธรรมชาติสูญเสียไป จึงไมควรนำพื้นที่บริเวณนี้มาใชทางดานการผลิตพืชเศรษฐกิจทั่วไป แตควร
                  ใชพื้นที่นี้ปลูกไมโตเร็วในลักษณะของสวนปาเศรษฐกิจหรือปาชุมชนของเกษตรกรในพื้นท  ี่

                              ขอเสนอแนะในการใชพื้นท    ี่
                                              ี่
                                            ื้
                                                          ู
                                                                           ื่
                              เนื่องจากพนทในเขตนี้ที่ดินถกบุกรุกและจับจองเพอการทำเกษตรกรรม อยางตอเนื่อง
                  มานาน จึงมีปญหาเรื่องสิทธิทำกินของราษฎร ดังนั้นแนวทางในการดำเนินการแกไขปญหาจะตอง
                  ดำเนินการใหเปนไปตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 แตในขณะที่ผลการตรวจสอบ
                  พิสูจนสิทธิการครอบครองที่ดำเนินการโดยกรมปาไมยังไมแลวเสร็จ ควรเรงดำเนินการอบรมแนะนำให
                  ราษฎรในพื้นที่ไดเห็นความสำคัญของทรัพยากรปาไม การมีสวนรวมในการดูแลรักษาปาไมและดำเนิน
                  โครงการเพื่อการเปลี่ยนระบบการปลูกพืชเศรษฐกิจมาเปนการปลูกปาเชิงเศรษฐกิจแทน สวนบริเวณท ี ่
                  เปนปาเสื่อมโทรมควรกำหนดมาตรการและแนวทางในการปองกันมิใหราษฎรบุกรุกพื้นที่ดังกลาว

                  เพื่อใชในการเกษตรกรรม ควรปลอยใหพันธุไมมีการฟนตัวตามธรรมชาติเพื่อเปนปาไมที่สมบูรณตอไป
                                                                              ้
                                                                                ่
                                              ื่
                                                                                  ี
                  หรือใหสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพอเกษตรกรรมดำเนินการปฏิรูปที่ดินในพนททเหมาะสม และควรกำหนด
                                                                                  ่
                                                                                ี
                                                                              ื
                                                                ื่
                  มาตรการอนุรักษดินและน้ำใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่เพอใหเกดการทำการเกษตรแบบยั่งยืนตอไป
                                                                      ิ
                        4.2.2 เขตเกษตรกรรม (B2)
                            เขตเกษตรกรรม เนื้อที่ 83,923 ไร หรือรอยละ 3.17 ของพื้นที่ศึกษา ประกอบดวย เขตยอย
                  3 เขตประกอบดวย เขตเกษตรกรรมเชิงอนุรักษในเขตชลประทาน เขตเกษตรกรรมเชิงอนุรักษนอกเขต
                                     ุ
                  ชลประทาน และเขตปศสัตว โดยมีรายละเอียดตาง ๆ ดังนี้
                                                      
                            1) เขตเกษตรกรรมเชิงอนุรักษในเขตชลประทาน (หนวยแผนที่ B221)
                                เขตนี้กำหนดใหเปนเขตเกษตรกรรมในพื้นที่ชลประทาน (หนวยแผนที่ B221) มีเนื้อที่
                  3,321 ไร หรือรอยละ 0.13 ของพื้นที่ศึกษา พื้นที่สวนใหญใชในการปลูกพืชไร ไดแก ออยโรงงาน
                  สับปะรด และมันสำปะหลัง พื้นที่บางสวนเปนไรราง รวมเนื้อที่ทั้งหมด 1,197 ไร รองลงมาเปนพื้นท่ ี
                                                                                                     
                  ปลูกไมยืนตน เชน สนประดิพัทธ ยางพารา ปาลมน้ำมัน เปนตน มีเนื้อที่รวม 888 ไร พื้นที่ปลูกไมผล
                  เชน มะมวง มะนาว กลวย เปนตน มีเนื้อที่ 632 ไร ที่เหลือเปนพื้นที่นาหญา 604 ไร โดยสวนใหญ  
                                                                                                      ่
                  เกษตรกรมการใชประโยชนที่ดินในการปลูกพืชเพื่อการคา พื้นที่ในเขตนี้มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงลูกคลืน
                           ี
                  ลอนลาด ดินที่พบสวนใหญเปนดินลึกปานกลางถึงลึกมาก มีเพียงบางสวนที่เปนพื้นที่ดินตื้น พื้นที่สวนใหญ  
                                        
                  มีการระบายน้ำดี เปนดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลาง มีบางพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณตำ
                                                                                                      ่
                           ้
                  โดยพื้นที่นีเปนพื้นที่ที่มีการพัฒนาระบบน้ำชลประทานเพื่อการเพาะปลูก ดังนั้น ในชวงฤดูแลง จึงสามารถ
                                   ื
                  ใชน้ำชลประทานเพ่อการเขตกรรม ชวยลดผลกระทบจากภัยแลงได    
                                ขอเสนอแนะในการใชพื้นท  ี่
                                                                                                   ื
                               1. ควรปรับปรุงบำรุงดินโดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ เชน ปุยหมัก ปุยคอก หรือปุยพชสด
                  เพื่อชวยปรับปรุงโครงสรางของดินและเพิ่มธาตุอาหารที่เปนประโยชนสำหรับพืช รวมกับการใสปุย
                  วิทยาศาสตรในอัตราสวนที่เหมาะสม เพื่อใหเหมาะสมตอประเภทการใชที่ดิน
                               2.  ควรมีการจัดการระบบการใหน้ำและการจัดการระบบการเพาะปลูกใหมีประสิทธิภาพ

                                                    ุ
                  สูงสุด เชน การใชระบบน้ำหยด การใชวัสดคลุมดิน การปลูกพืชคลุมดิน เปนตน
   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134