Page 134 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 134

4-14






                             1) พื้นที่แหลงน้ำในเขตปาไมตามกฎหมาย (หนวยแผนที่ 41)

                               มีเนื้อท 8,731 ไร หรือรอยละ 0.33 ของพื้นทศึกษา
                                      ี่
                                                                     ี่
                            ขอเสนอแนะในการใชพื้นท   ี่
                                                                                                      ั
                                -  ดำเนินการปองกันและปราบปรามการลักลอบจับสัตวน้ำ โดยดำเนินการกบ
                  ผูกระทำผิดอยางเด็ดขาด
                                -  ควรสงเสริมใหราษฎรในพื้นที่และพื้นที่ขางเคียงเห็นคุณคาของพื้นที่แหลงน้ำและ
                  มีสวนรวมในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ อนุรักษพันธุปลา และนกน้ำในพื้นที่แหลงน้ำ ดังกลาว
                                -  ควรกำหนดมาตรการในการดูแลรักษาพื้นที่แหลงน้ำรวมกันระหวางองคกรของ

                               ่
                               ี
                  ราษฎรในพื้นทรวมกับเจาหนาที่ของรัฐฯที่รับผิดชอบและเสริมความรูใหกับราษฎรในพื้นที่ใหเห็น
                  ความสำคัญของพื้นที่ชุมน้ำ
                                -  เสริมสรางสมรรถนะและเพิ่มกำลังบุคลากร ทั้งดานการบริหาร การบริการ และ
                  การจัดการ ตลอดจนการปลูกฝงจิตสำนึกที่ดีดานอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติเพื่อใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

                          2) พ้นท่แหลงน้ำนอกเขตปาไมตามกฎหมาย (หนวยแผนท่ 42)
                                  ื
                                                                               ี
                                    ี
                                       ี
                                 มีเนื้อท 11,585 ไร หรือรอยละ 0.44 ของพื้นทศึกษา
                                                                        ี่
                                       ่
                            ขอเสนอแนะในการใชพื้นท   ี่
                            -   ควรเรงดำเนินการศึกษาหาแนวทางในการพัฒนาแหลงน้ำผิวดินเพิ่มเติม แตตองคำนึงถึง
                  ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมโดยทั่วไปประกอบการพจารณาดังกลาว
                                                         ิ
                            -  ควรมีการบำรุงรักษาแหลงน้ำตามธรรมชาติ และแหลงน้ำที่สรางขึ้น ที่มีอยูเพื่อเพม
                                                                                                      ิ
                                                                                                      ่
                  ประสิทธิภาพของการเก็บกักน้ำ
                                                ั
                            -  ดำเนินการปองกนและปราบปรามการลักลอบจับสัตวน้ำในฤดูวางไข หรือใชเครื่องมอ
                                                                                                      ื
                                           ่
                                         ื
                                         ้
                                                                                 
                                                                                               ็
                                           ี
                                                                               ั
                  จับสัตวน้ำที่ผิดกฎหมายในพนทแหลงน้ำสาธารณประโยชน โดยดำเนินการกบผูกระทำผิดอยางเดดขาด
                            -  หนวยงานที่เกี่ยวของในพื้นท ควรเรงจัดทำโครงการเพื่อจัดหาแหลงน้ำขนาดเล็ก
                                                            ี
                                                            ่
                  ในไรนาของเกษตรกรและประสานงานกับกรมพัฒนาที่ดิน ซึ่งเปนหนวยงานที่ไดรับมอบหมายจาก
                  กระทรวงเกษตรและสหกรณ ใหเปนหนวยงานที่รับผิดชอบการพัฒนาแหลงน้ำขนาดเล็ก โดยจัดทำ
                  กรอบแผนการดำเนินการตามลำดับความสำคัญ
                               -  บริเวณพื้นที่สาธารณประโยชนอาจเปนแหลงน้ำในฤดูฝน แตเมื่อถึงฤดูแลง
                  อาจมีการจับจองเพื่อใชประโยชนที่ดิน สงผลใหเกิดการตื้นเขินของพื้นที่แหลงน้ำ หนวยงานของรัฐ
                                                                                                       ่
                  ที่มีหนาที่เกี่ยวของควรมีการตรวจสอบ ปองกัน และดำเนินการแกไขปญหาการบุกรุกยึดครองพื้นท
                                                                                                       ี
                  ควรเก็บไวเปนสาธารณประโยชน เนื่องจากสภาพพื้นที่เปนที่ลุมต่ำไมเหมาะสำหรับการนำที่ดินมาใช
                  ดานเกษตรกรรม ควรคงสภาพไวเพอการรักษาสมดุลของระบบนิเวศตอไป
                                              ื่
                                     ี่
                        4.2.5 เขตพื้นทอื่น ๆ
                             มีเนื้อที่ 69,730 ไร หรือรอยละ 2.63 ของพื้นที่ศึกษา เขตนี้ประกอบดวย 3 เขตยอย คือ
                             1) เขตพื้นที่เบ็ดเตล็ด (หนวยแผนที่ B51)
                                มีเนื้อที่ 703 ไร หรือรอยละ 0.03 ของพื้นที่ศึกษา เขตนี้มีการใชพื้นที่ที่มีความเฉพาะ
                                                               ื
                                                   
                  เจาะจง ซึ่งสภาพการใชที่ดินที่พบ ไดแก บอขุดเกา เหมองทราย บอลูกรัง บอดิน พื้นที่ถม และที่ทิ้งขยะ
   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139