Page 139 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 139

4-19






                                                                                                     ั
                                                                         
                       ้
                  แหงนีอยางยั่งยืน โดยควรมีแผนงานในการรณรงคเผยแพรความรูเกี่ยวกับพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคญ
                  ระดับนานาชาติ ซงตองการงบประมาณและบุคลากรสนับสนุนในการนี  ้
                                ึ่
                                   
                             4) การประสานงานอยางมีระบบ มีความตองการใหมีการประสานงานระหวางสวนราชการ
                  ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษาอยางมีระบบเพื่อการอนุรักษพื้นที่ชุมน้ำอุทยานแหงชาติแกงกระจาน
                  โดยอาจจัดตั้งคณะกรรมการระดับทองถิ่นดูแลการดำเนินงานเกี่ยวกับพื้นที่ชุมน้ำ
                        4.3.3 มาตรการตาง ๆ ในพื้นที่เขตรักษาสมดุลสิ่งแวดลอมรอบพื้นที่ชุมน้ำ
                          การจัดการดานการทองเที่ยว จากอดีตถึงปจจุบัน อุทยานแหงชาติแกงกระจานและบริเวณ
                  ใกลเคียง จัดวาเปนแหลงสำคัญแหงหนึ่งของการทองเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศ

                                    ี
                                                 ่
                                                 ี
                  ในอนาคตมแนวโนมทจะเปนแหลงทมความสำคญทางการศกษาวิจัยดานตาง ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่ง
                           ี
                                    ่
                                                                     ึ
                                                                              
                                                  ี
                                                           ั
                  ในดานความหลากหลายทางชีวภาพ ปญหาขยะมูลฝอยจากนักทองเที่ยว ดังนั้น ปญหาที่สมควรไดรับ
                  การพิจารณาเพื่อการจัดการตอไป ไดแก  
                             1) การจัดระเบียบในการจัดการทองเที่ยว เชน ที่พัก การบริการใหเปนระบบโดยเฉพาะ
                  ความสะอาด ที่ไมกอใหเกิดผลกระทบที่เสียหายตอระบบนิเวศโดยรวม
                                                                  ้
                             2) การสรางจิตสำนึกในการอนุรักษใหเกิดขึนกับประชาชนทั้งนักทองเที่ยวและประชาชน
                         ิ
                         ่
                  ในทองถน
                     
                             3) การออกมาตรการควบคุมการทิ้งขยะมูลฝอย และการปลอยน้ำเสียจากภาคการทองเที่ยว
                  เชน โรงแรม เกสตเฮาส เปนตน
                             4) การใหประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวมจัดการและใหประชาชนเหลานั้น ไดรับผลประโยชน
                  อยางเสมอภาคและยุติธรรม
                             การจัดการดานการประมง บริเวณพื้นที่ชุมน้ำอุทยานแหงชาติแกงกระจานมีการทับถม

                  ของตะกอนดินจากการทำการเกษตรบนพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง โดยไมมีการใชวัสดุคลุมดิน เมื่อมีฝนตก
                  หนักมีการชะลางพังทลายของดินลงสูแมน้ำลำคลอง ทำใหสภาพลำคลองตื้นเขิน ปริมาณสัตวน้ำที่จับได 
                  ลดลง จึงควรมมาตรการตาง ๆ คือ สำนักงานประมงศูนยวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำจืดและ
                              ี
                  องคกรปกครองสวนทองถิ่นจึงควรเขาไป ใหความรู ความเขาใจ สงเสริมการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำอยางถูกวิธี

                                                   ิ
                  หรือเพาะเลี้ยงสัตวน้ำแบบธรรมชาต โดยไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ควรมีมาตรการเรื่อง
                  การใชอุปกรณหาปลา ลงโทษโดยการปรับ และจับ ผูใชอุปกรณจับสัตวน้ำผิดกฎหมาย ควรมีการสำรวจ
                  พื้นที่เพื่อระบุสภาพปญหาของพื้นที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ำ กำหนดแนวทางรวมกับชุมชนในการแกไขปญหา

                  สรางเครือขายชุมชนประมงใหมีสวนรวมในการบริหารจัดการทรัพยากรสัตวน้ำใหมีความอุดมสมบูรณ  
                  และใชประโยชนอยางยั่งยืน
                                                              ่
                                                              ี
                             การจัดการและปองกันการบุกรุกพื้นทสาธารณประโยชน ทำเลเลี้ยงสัตว พบปญหานี้ใน
                  พื้นที่ชุมน้ำอุทยานแหงชาติแกงกระจานเพียงเล็กนอย โดยกิจกรรมที่จะกระทบตอพื้นที่ลักษณะดังกลาว
                                                                                     ี
                  ไดแก การปลูกสรางบานเรือนบริเวณพื้นที่สาธารณประโยชน ทำเลเลี้ยงสัตว มการจับจองพื้นที่ และ
                  ปรับเปลี่ยนไปใชประโยชนดานอื่น เชน เกษตรกรรม การปลูกสรางที่อยูอาศัย เปนตน ดังนั้น เจาหนาท ี ่
                                                                                                      ั
                                      ่
                  ภาครัฐที่รับผิดชอบพื้นทควรมมาตรการควบคุมการใชประโยชนพื้นที่สาธารณประโยชน เพื่อปองกน
                                           ี
                                      ี
                  ปญหาการบุกรุกและใชประโยชนพื้นที่ดังกลาวเพื่อวัตถุประสงคอื่น และการสรางจิตสำนึกในการ
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144