Page 135 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 135

4-15






                                ขอเสนอแนะในการใชพื้นท  ี่

                                                                                          ่
                                                                                          ี
                                องคกรปกครองสวนทองถินในพื้นที่ควรมีมาตรการดูแลและฟนฟูพื้นทในเขตเบ็ดเตล็ด
                                                      ่
                  ใหเกิดประโยชน พรอมทั้งใหผูดำเนินการใชที่ดินบางประเภท เชน บอลูกรัง บอดิน บอทราย ปฏิบัต ิ
                  ตามกฎระเบียบที่วางไวอยางเครงครัดเพื่อไมใหสงผลกระทบตอสภาพแวดลอมจากการประกอบ
                   ิ
                  กจกรรมตาง ๆ ดังกลาวขางตน
                             2) เขตรักษาสมดุลสภาพแวดลอม/ พื้นที่ลุม ทุงหญา ไมละเมาะ (หนวยแผนที่ B52)
                                มีเนื้อที่ 15,765 ไร หรือรอยละ 0.59 ของพื้นที่ศึกษา เปนสังคมพืชที่ปรากฏคอนขางนอย
                  ตามธรรมชาติ พื้นที่สวนใหญมีพืชขึ้นหนาแนน เชน ทุงหญา ไมพุม มักพบในบริเวณทแหงแลง ความชื้นนอย
                                                                                     ี่
                  ความอุดมสมบูรณต่ำ และมีโอกาสเสี่ยงตอการเกิดไฟปา บางแหงมีไมพุมเตี้ยขึ้นปะปน
                                ขอเสนอแนะในการใชพื้นท  ี่
                                หนวยงานในพื้นที่ที่เกี่ยวของควรมีการดำเนินการดูและพื้นที่ในบริเวณนี้ควรมีการ
                  ดำเนินงานดานการควบคุมการเขาใชพื้นที่ซึ่งอาจมีการใชไมตรงตามศักยภาพ หากเปนพื้นท  ี ่

                  สาธารณประโยชน ควรสงวนไวใชประโยชนรวมกัน และควรมีมาตรการการใชพื้นที่อยางเหมาะสม
                             3) เขตคงสภาพปาไมนอกเขตปาตามกฎหมาย (หนวยแผนที่ B53)
                                มเนื้อที่ 53,262 ไร หรือรอยละ 2.01 ของพื้นที่ศึกษา เขตนี้อยูภายใตขอกำหนด
                                 ี
                  เปนบริเวณ ที่อยูนอกเขตปาตามกฎหมาย แตมีสภาพการใชที่ดินเปนปาไมผลัดใบสมบูรณ และ

                  ปาปลูกสมบูรณ ซึ่งมีการอนุรักษไวเปนปาชุมชน และอาศัยปาดังกลาวในการหาของปาเพื่อมาบริโภค
                  ภายในครัวเรือนหรือจำหนาย แตมีบางพื้นที่มีลักษณะเปนปาไมผลัดใบรอสภาพฟนฟู ที่ชุมชนตองหา
                  แนวทางฟนฟูสภาพปาดังกลาวใหสมบูรณ  
                                ขอเสนอแนะในการใชพื้นท  ี่

                                ชุมชนควรมีมาตรการในการปองกันรักษาสภาพปาไมที่สมบูรณใหคงสภาพดังกลาวไว
                  เพื่อใหเกิดความหลากหลายทางชีวภาพ และการใชประโยชนรวมกันของพื้นที่ ในขณะเดียวกน
                                                                                                      ั
                  หนวยงานของรัฐบาลที่มีหนาที่รับผิดชอบควรเรงดำเนินการสำรวจและและวางมาตรการปองกัน
                  และรักษาสภาพปาใหคงสภาพสมบูรณตอไป
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140